Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (Amniotic fluid embolism (ช่วยเหลือ…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
Postterm
ตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ > 42 wks
สาเหตุ
Macrosomia
CPD
ทารกที่มี Anencephaly
การตั้งครรภ์ในช่องท้อง
วินิจฉัย(ต้องทราบ
GA ที่แน่นอน)
ทดสอบการตั้งครรภ์ ให้ผลบวก
GA >6 wks
PV ในไตรมาสแรกของการ
ตั้งครรภ์
ประวัติประจำเดือนครั้งสุดท้าย การมาสมำ่เสมอของ
ประจำเดือน, การคุมกำเนิด
FHS ครั้งแรกได้เมื่อ
18-20 สัปดาห์
Lightening
นำ้หนักตัวคงที่ , ตรวจหน้าท้องพบนำ้ครำ่ลดลง
PV ปากมดลูกนุ่ม , เจาะนำ้ครำ่พบสีขี้เทาปน
ดูแลรักษาก่อนคลอด
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ถ้าปากมดลูกยังไม่สุก กระตุ้นด้วย Prostaglandia
ป้ายปากมดลูก
Rupture vasa previa
ปัจจัย
ครรภ์แฝด
Placenta succenturiata ร่วมกับรกเกาะตำ่
Velamentous insertion ร่วมกับรกเกาะตำ่
วินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
ก่อนถุงนำ้แตก
เห็นเส้นเลืดทอดบน Fetal membrane
คลำพบเส้นเส้นเลือดเต้นเข้าจังหวะกับ FHS
หลังถุงนำ้ครำ่แตก
Fetal distress
เลือดออกทางช่องคลอด
การตรวจเลือดที่ออกทางช่องคลอดว่าเป็นเลือดของทารก
Retrostive method
รักษา
วินิจฉัยก่อนถุงนำ้ครำ่แตก ให้ C/S
วินิจฉัยภายหลังถุงนำ้ครำ่แตก ต้องยุติการตั้งครรภ์ทันที
การเจาะถุงนำ้ครำ่
Fetal distress
Intrapartum fetal distress
สาเหตุ
เรื้อรัง
HT
DM
เฉียบพลัน
Prolapse cord
Abruptio placenta
Hypertonic contraction
การวินิจฉัย
ความผิดปกติจาก Electronic fetal monitoring
ภาวะ Acidosis
ภาวะ Mecionium stained ในนำ้ครำ่
Antepartum fetal distress
การเจริญเติบโตของทารก
DFIU
Oligohydramnios
IUGR
Congenital malformatiom
ภาวะขี้เทาในนำ้ครำ่
Moderate meconium stained
Thick meconium stained
Mild meconium stained
ฟังเสียงหัวใจทารก
FHS มากกว่า 160 bpm
FHS น้อยกว่า 100 bpm หลังมดลูกหดรัดตัว 30 วินาที
FHS น้อยกว่า 100 bpm
วินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
Biophysical profile
Electronic fetal monitoring
Ultrasound
Nonstress test
การเคลื่อนไหวหรือการดิ้นของทารก
ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อวัน
หยุดดิ้น
การเจาะเลือดจากสายสะดือ
ทารกในครรภ์ Size น้อยกว่า Date
วัดอัตราการไหลเวียนของเลือดด้วยเครื่อ Doppler ultrasound
Uterine rupture
สาเหตุ
ก่อนการตั้งครรภ์
C/S
บาดเจ็บที่มดลูก
ผ่านการคลอดหลายครั้ง
ความผิดปกติของมดลูกแต่กำเนิด
ขณะตั้งครรภ์
มดลูกมีการยืดขยายมาก
คลอดติดขัด
มดลูกหดรัดตัวแรงและต่อเนื่อง
ทารกตัวโต
รกติดแน่นชนิด precreta , lncreta
รักษา
มดลูกแตก
แก้ไขภาวะ shock
เย็บซ่อมแซมมดลูกหรือตัดทิ้งขึ้นกับรอยแตก
รายที่สงสัยมดลูกแตก
แก้ไขภาวะมดลูกแตกคุกคาม
ถ้าคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ก็ควร C/S
วินิจฉัย
อาการเตือนมดลูกจะแตก
มดลูกหดรัดตัวแข็งตึงตลอดเวลา
ปวดท้องน้อยเหนือหัวเหน่ารุนแรง
พบ Bandl ' s ring
อาการมดลูกแตกแล้ว
ปวดท้องลดลง
เลือดออกทางช่องคลอด
shock
คลำทารกได้ชัดเจนมากขึ้น
FHS เปลี่ยนแปลง
คลำได้ก้อนหยุ่นๆ ข้างมดลูก
ภาวะแทรกซ้อน
ติดเชื้อ
Fetal distress
APH & PPH
อัตราการตายมารดาเพื่มขึ้น
Amniotic fluid embolism
ลักษณะ
Hypoxia
Consumptive coagulopathy
Hypotension
สาเหตุ
นำ้ครำ่เล็ดเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา
ระยะแรก เข้าสู่ปอดเกิดการหดเกร็งของหอดเลือดและ
ความดันเลือดสูงในปอดร่วมกับขาดออกซิเจน
ระยะสอง ล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต เกิดปอดบวมนำ้
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก
ชักเกร็ง
ถ้าไม่ได้รักษาจะเสียชีวิต
หัวใจและปอดหยุดทำงาน
เหนื่อยหอบ หลอดลมตีบ เขียวทันที
ระยะ 2
ตรวจพบ Fibrinogen และเกล็ดเลือดตำ่
PT, PTT ยาวนานขึ้น และเกิิด DIC
วินิจฉัย
EKG พบ Tachtcardia STและ T wave เปลี่ยนแปลง
ตรวจเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน
ตรวจการไหลเวียนเลือดของปอด พบ Perfusion defect
ถ่ายรังสี อาจพบ Pulmonary ederma
ช่วยเหลือ
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นสูง
ให้สารละลาย Crystalloid
พิจารณาผ่าตัดคลอด
แก้ไขภาวะความดันโลหิตตำ่
cardiopulmonary resuscitation
เตรียมเลือด
Shoulder Dystocia
ก่อนคลอด
มีประวัติคลอดไหล่ยากมาก่อน
ช่องเชิงกรานแคบชนิด platypelloid
ครรภ์เกินกำหนด > 42 wks
มารดาอายุมาก, อ้วน, เบาหวาน
ทารกโต , ทารกเพศชาย
ในการคลอด
Protraction disorder
Arrest disorder
มีความผิดปกติในระยะที่ 1 ของการคลอด
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
ได้รับ oxytocin
ช่วยคลอดด้วย Midforceps , V/E
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารก
บาดเจ็บขณะคลอด
มีปัญหาทำลายระบบประสาท ชัก
ขาดออกซิเจนขณะคลอด
ตายขณะคลอด
ต่อมารดา
ฉีดขาดของปากมดลูก
เสียเลือดมาก
การพยาบาล
ประเมินการคลอดไหล่ยาก
ให้การช่วยเหลือการคลอดไหล่ยาก
ตัดฝีเย็บให้กว้างพอ
ใช้วิธี McRobert maneuver
Dystocia
คลอดล่าช้า
Protracted active phase
of dilatation
ครรภ์แรก ปากมดลูกเปิด < 1.2 ซม
ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิด < 1.5 ซม
Protracted descent
ครรภ์แรก เลื่อนตำ่< 1 ซม/ชม
ครรภ์หลัง เลื่อนตำ่< 2 ซม/ชม
คลอดหยุดชะงัก
Prolonged deceleration phase
ครรภ์หลัง deceleration phase >1 ชม
ครรภ์แรก deceleration phase >3 ชม
Secondary arrest
of dilatation
หยุดชะงักของการเร่งคลอดในระยะเร่งด่วนมากกว่า 2 ชั่วโมง
Arrest of descent
มีการหยุดชะงักของการเลื่อนลงของส่วนนำมากกว่า 1 ชั่วโมง
Failure of descent
ส่วนนำไม่เลื่อนลงมาในระยะ deceleration phase และ
ระยะที่ 2 ของการคลอด
คลอดยาวนาน
Prolonged latent phase
ปกติครรภ์แรก 20 ชม เฉลี่ย 8 ชั่วโมง
ปกติครรภ์หลัง 14 ชม เฉลี่ย 6 ชั่วโมง
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
ตกเลือด
ภาวะแทรกซ้อนจากการดมยา
หนทางคลอดฉีกขาด
กระบังลมหรือมดลูกหย่อน
ติดเชื้อ
รูรั่วที่ช่องคลอด
ต่อทารก
Fetal distress
ติดเชื้อ
อันตรายต่อสมอง กล้ามเนื้อ กระดูกหัก
เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด
การพยาบาล
ประเมินปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการดำเนินการคลอด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ในรายปากมดลูกเปิดช้า ควรประเมินเวลาที่เริ่มเจ็บครรภ์จริง
ในรายคลอดล่าช้า ให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ประเมินสภาพเชิงกราน ประเมินสภาพทารก
ในรายส่วนนำเคลื่อนตำ่ล่าช้า ให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและแรงเบ่ง
PROM
สาเหตุ
ติดเชื้อในถุงนำ้ครำ่
ปากมดลูกปิดไม่สนิท
ประวัติครรภ์ก่อนมี PROM
ท่าผิดปกติ
ประวัติครรภ์แฝด/แฝดนำ้,
ความดันภายในโพรงมดลูกเพิ่มขึ้น
รกเกาะตำ่/รกลอกตัวก่อนกำหนด
สูบบุหรี่,ภาวะทุพโภชนาการ, BMI ตำ่
วินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Fern test
ได้ + พบผลึกรูปใบเฟริ้น
Ultrasound
Severs oligohydramnios
Nitrazine paper test
สีเขียวอ่อน pH 5.5 แตกแล้วเป็นสีฟ้าหม่น pH 7.0
สีเขียวขี้ม้า pH 6.0 แตกแล้วเป็นสีกรมท่า pH 7.5
สีเหลือง pH 5.0 แตกแล้วเป็นสีเขียวนำทะเล pH 6.5
นำ้ครำ่ปกติ pH 7.0 - 7.7
Nile blue test
เซลล์ไขมันของทารกในครรภ์ติดสีแดง
เซลล์อื่นติดสีนำ้เงิน
ได้ผล GA>32 wks
ตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกลดลง
คลำส่วนทารกได้ชัดเจน
นำ้ครำ่ไหลขังที่ posterior fornix
ประวัติ
อายุครรภ์
เวลาที่ถุงนำ้ครำ่แตก
นำ้ใสๆไหลออกจากทางช่องคลอด(แยกปัสสาวะกับมูกจากช่องคลอด)
ภาวะแทรกซ้อน
ติดเชื้อของทารกในครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
Respiratory distress syndrome ที่ GA<37 wks
ทารกพิการแต่กำเนิด
ผิวหนังเหี่ยวย่น
รักษา
รับไว้ รพ.
GA<37 wks Expectant management
GA>37 wks ยุติตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงตรวจภายใน/ทวารหนัก
ถ้าติดเชื้อ ให้ยุติการตั้งครรภ์
ถ้าไม่ติดเชื้อ ให้รักษาแบบประคับประคอง
Preterm
ความหมาย
GA 28-37 wks
นำ้หนักทารกแรกเกิด
1000-2500 กรัม
ปัจจัยเสี่ยง
แก้ไขไม่ได้
ความผิดปกติของทารกหรือรก
มดลูกขยายตัวมากกว่าปกติ
แก้ไขได้
BMI ตำ่
สูบบุหรี่
โรคของมารดา PIH GDM
วินิจฉัย
พบว่ามี Uterine contraction อย่างน้อย 1 ครั้ง
ใน 10 นาที Duration > 30 วินาที
รักษา
ตรวจภายในเมื่อจำเป็น
ตรวจดู Uterine contraction
Bed rest ในท่านอนตะแคง
ฟัง FHS อย่างสมำ่เสมอ
ให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์
Prolapse cord
ปัจจัย
CPD
ทารกไม่ครบกำหนด
ทารกท่าผิดปกติ
PROM ก่อนส่วนนำลงสู่เชิงกราน
วินิจฉัย
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่อคลอด
PV คลำพบสายสะดือ อาจได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ
FHS ผิดปกติ
U/S
รักษา
ช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
จัดท่ามารดา โดยใช้หมอนรองก้นให้สูงขึ้น
สอดมือเข้าช่องคลอดดันไม่ให้ลงมากดสายสะดือ
ให้ออกซิเจน
ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง
การคลอด
C/S ดีที่สุด
F/E กรณีที่ปากมดลูกเปิดหมดส่วนนำลงมาตำ่มาก
ช่วยคลอดท่าก้น รายที่ปากมดลูกเปิดหมด
ชนิดสายสะดือย้อย
Overt prolapse cord อยู่ตำ่กว่าส่วนนำทารก มักอยู่ในช่องคลอด
และถุงนำ้ครำ้ยังไม่แตก
Occult prolapse cord สายสะดือมักถูกกดกับช่องคลอดเมื่อทารกเลื่อนตำ่ลง
และถุงนำ้ครำ่แตกหรือไม่แตกก็ได้
Forelying cord funic presentation อยู่ตำ่กว่าส่วนนำทารกและถุงนำ้ครำ้ยังไม่แตก