Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (Uterine rupture, Fetal distress,…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2
Rupture Vasa previa
ปัจจัยส่งเสริม
รกน้อยชนิด
Placenta succenturiata ร่วมกับรกเกาะต่ำ
ครรภ์แฝด
Velamentous insertion
มักพบร่วมกับรกเกาะต่ำ
การรักษา
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
ถ้าวินิจฉัยก่อนถุงน้ำคร่ำแตกให้ C/S ทุกราย
ถ้าวินิจฉัยหลังถุงน้ำคร่ำแตก ต้องยุติการตั้งครรภ์ทันที
Fetal distress
การวินิจฉัย
การเจริญเติบโตของทารกช้ากว่าปกติ
ภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำ
การฟังเสียงหัวใจทารก
FHS จะเพิ่มขึ้นตามการเคลื่อนไหว แสดงว่าทารกอยู่ในภาะปกติ
การวินิฉัย
ทางห้องปฏิบัติการ
Biophysical profile
Ultrasound
Nonstress test
การเคลื่อนไหวหรือการดิ้นของทารกในครรภ์
ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง/วัน หรือหยุดดิ้น
การเจาะเลือดจากสายสะดือของทารก
การวัดอัตราการไหลเวียนของเลือด
สาเหตุ
เรื้อรัง
เกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เข้าระยะคลอด
DM
็HT
เฉียบพลัน
มีอาการเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
Hypertonic contraction(Oxytocin)
Abruptio placenta
Prolapse cord
การป้องกัน
Oxytocin infusion pump
ป้องกันHyperstimulation
Intravenous fluid 1000 ml.
ก่อนให้Regional anesthesia
ให้นอนตะแคง
การรักษา
นอนตะแคง
ออกซิเจน 8-10 LPM
หยุดให้ Oxytocinทันที
Tocolytic agent
Free flow IV fluid แก้ไข Hypotension
ประเมินภาวะProlapse cord
หาสาเหตุภาวะ Hypotension
Amnioinfusion
กระตุ้นหนังศีรษะทารกหรือด้วยเสียง
Fetal scalp blood samling
Amniotic fluid embolism/AFE
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้น
สาเหตุ
ระยะที่สอง
เกิดภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนเลือด
ระยะแรก
น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณปอด
อาการและอาการแสดง
ระยะที่1 Hemodynamic collapse
ระยะที่2 Coagulopathy
การช่วยเหลือ AFE
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นสูง
ให้สารละลายCrystalloid
ผ่าตัดคลอดในรายที่มารดาหัวใจหยุดเต้น
ให้ยา Dopamine เพื่อแก้ไขภาวะ BPต่ำ
Cardiopulmonary resuscitation
เตรียมเลือด
Prolapse cord
ชนิด
Overt prolapse cord สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์และมักอยู๋ในช่องคลอดและถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
Occult prolapse cord สายสะดือย้อยลมาอยู่ด้านข้างของทารก
.Forelying cord Funic presentation
สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
ของทารกในครรภ์และถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
ปัจจัยส่งเสริม
Amniotomy หรือ PROM ก่อนที่ส่วนนำจะลงสู่ช่องเชิงกราน
ทารกไม่ครบกำหนด
CPD
ทารกท่าผิดปกติ
การวินิจฉัย
PV พบสายะดือ ได้ชีพจรเป็นจังหวะ
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอด
FHS ผิดปกติ
การรักษา
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
จัดท่านอนโดย
ใช้หมอนรองก้นให้สูง
Knee - chest
Sim
Trendelenberg
สอดมือเข้าช่องคลอด
ดันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ทำให้กรพเพราะปัสสาวะโป่งตึง
การคลอด
C/S ดีที่สุด
F/E กรณีไม่มีภาวะ CPD
ช่วยลอดท่าก้น
Uterine rupture
ประเภท
Incomplete rupture
รอยแตกทะลุชั้น Serosa
Complete rupture
รอยแตกไม่ทะลุชั้น Serosa
สาหตุ
ปัจจัยชักนำที่ปรากฎก่อนการตั้งครรภ์
การผ่าตัดที่ตัวมดลูก/เย็บซ่อมแซมมดลูกที่เคยแตก
บาดเจ็บที่มดลูก , ขูดมดลูก
ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
ความผิดปกติของมดลูกแต่กำเนิด
ปัจจัยชักนำที่ปรากฎขณะตั้งครรภ์
ก่อนคลอด
มดลูกหดรัดตัวแรงและ่อเนื่อง
ได้รับ Oxytocin/Prostaglandins
External version
ครรภ์แฝด/ครรภ์แฝดน้ำ
ขณะคลอด
การคลอดติดขัด
CPD
การช่วยคลอดด้วยคีม
ช่วยคลอดท่าก้น
ทารกตัวโต,ล้วงรก
พยาธิสภาพอื่นๆ
Adenomyosis
Molar pregnancy
Precreta , Increta
การวินิจฉัย
อาการแสดงเตือนว่ามดลูดจะแตก
ปวดท้องน้อยเหนือหัวหน่าวอย่างรุนแรงจนกระสับกระส่าย
Tonic contraction
พบ Bandl 's ring
อาการและอาการแสดงของมดลูกที่แตกแล้ว
Shock
อาจคลำได้ก้อนหยุ่นๆข้างมดลูก
บางรายพบเลือดออกทางช่องคลอด
อาการปวดท้องลดลง
ภาวะแทรกซ้อน
Fetal distress
Infection
อัตราการตายของมารดาเพิ่มขึ้น
APH & PPH
การรักษา
ให้เลือดทดแทน
Exploratory laparotomy
ทุกรายไม่ว่าทารกจะมีชีวิตหรือไม่
การเย็บซ่อมแซมมดลูกหรืตัดมดลูกทิ้ง
แก้ไขภาวะ Shock