Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (Fetal distress(ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคั…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 (Fetal distress(ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน))
Antepartum fetal distress
การวินิจฉัย
1.การเคลื่อนไหวหรือการดิ้นของทารกในครรภ์ ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อวัน Count to ten หยุดดิ้น
2.การฟังเสียงหัวใจทารก การฟังและนับอัตราการเต้นของหัวใจทารกก่อนและหลังการเคลื่อนไหวของทารก ทารกมีการตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว โดยมีการเพิ่มขึ้นของ FHS แสดงว่าทารกในครรภ์มีสุขภาพดี ไม่มีภาวะ fetal distress
3.การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หรือการเพิ่มขนาดของมดลูกที่ ช้ากว่าปกตินึกถึงภาวะ -IUGR ,DFIU Oligohydramnios,Congenital malformation เป็นสาเหตุ fetal distress ในระยะก่อนเจ็บครรภ์
4.การปรากฎภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำ(Meconium stained amniotic fluid)
5.การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
Ultrasound
Biophysical profile
การตรวจหาฮอร์โมน Estriol, Human placental lactogen
Electronic fetal monitoring
Nonstress test,Contraction stress test
6.การเจาะเลือดจากสายสะดือทารกในครรภ์
7.การวัดอัตราการไหลเวียนของเลือดด้วยเครื่อง Doppler ultrasound
Intrapartum fetal distress
ภาวะทารกขาดออกซิเจนและเกิดภาวะเลือดเป็นกรดในระหว่างการคลอด
สาเหตุ
1.เรื้อรังเกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่ระยะคลอด แต่ยังไม่มีอาการแสดงจนกระทั่งภาวะเครียดจากการคลอดจึงมีอาการแสดงเกิดขึ้นในระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด เช่น HT,DM
2.เฉียบพลัน มีอาการเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด เช่น Prolapse cord , Abruptio placenta , Hypertonic contraction(Oxytocin)
การวินิจฉัยและการดูแลรักษา
1.ภาวะ Meconium stained ในน้ำคร่ำ กรณีที่พบ Meconium stained ร่วมกับ FHS ที่ผิดปกติ ควรทำการทดสอบภาวะความเป็นกรดในเลือดที่เจาะจากหนังศีรษะ ทารก เพื่อพิจารณาให้การรักษาที่เหมาะสม
2.ความผิดปกติจาก Electronic fetal monitoring
ชนิดของการเต้นหัวใจทารก
1.Baseline fetal heart rate ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกฟังอยู่นาน 30-60 วินาที
1.Normal 110-160 bpm
2.Bradycardia น้อยกว่า 110 bpm
สาเหตุ
มารดาที่เป็นเบาหวานและมีภาวะHypoglycemia อยู่นาน
มารดารับประทานยา Beta blocking เช่น Propanolol
มารดาที่มีภาวะ Hypothermia
1.Mild bradycardia 100-119 bpm ไม่มีปัญหาตามมา
2.Moderate bradycardia 80-100 bpm
3.Severs bradycardia น้อยกว่า 80 bpm นานมากกว่า 3 นาที
3.Tachycardia FHS มากกว่า 160 BPM 3.1.Mild tachycardia FHS 161-180 BPM 3.2. Mild tachycardia FHS มากกว่า 181 BPM
Infection (มารดา/ทารก) พบบ่อยที่สุด
มารดาที่เป็น Thyrotoxicosis
มารดาที่ได้รับยา ระงับการหดรัดตัวของมดลูก
Prematurity
Mild asphyxia
ทารกที่มีภาวะโลหิตจาง
Baseline variability การเปลี่ยนแปลง Baseline ของ FHS เรียก Variability
1.Short-term variability Beat to beat change ปกติอยู่ระหว่าง 3-7 bpm มากกว่า 7 bpm คือ Increase variability น้อยกว่า 3 bpm คือ Decrease variability
2.Long-term variability การเปลี่ยนแปลงเป็นรูปคลื่นต่อนาที ปกติอยู่ระหว่าง 3-5 wpm
สาเหตุของการลดลงของ Variability
Asphyxia
Prematurity
Tachycardia
Physiologic sleep arrythmia
Drug :Transquilizer, Narcotic
5.Sinusoidal pattern
Baseline ค่อนข้างเรียบสม่ำเสมอ 3-5 คลื่นต่อนาที ความสูงของคลื่น 5-15 ครั้ง/นาที
ไม่มี variability อยู่นานอย่างน้อย 10 นาที
มักพบในรายที่ได้รับยา Pethidine หรือทารกซีดมาก เฝ้าระวังในรายที่มีความสูงของคลื่น ที่มากกว่า 15 คร้ัง/นาที
2.Periodic change
4.Variable deceleration
สาเหตุ เนื่องจากสายสะดือถูกกด
Variable deceleration ที่กลับสู่ Baseline ช้าและ FHS ลดลงมากกว่า 60 BPM โดยเฉพาะ Variability น้อยแสดงว่าทารกอยู่ในภาวะอันตราย
Variable deceleration ที่FHS 70 BPM และนานกว่า 60 วินาที จะทำให้เกิด Acidosis(pH น้อยกว่า 7.20)
เป็น deceleration ที่พบบ่อยที่สุด FHS ลดลงโดยอาจสัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก มักเป็นรูปตัว “U” ,“ V” , “ W” shape
3.Late deceleration
สาเหตุ Placental insufficiency
DM, HT, Collagen Disease
Hypotension
Hypertonic contraction(Oxytocin)
FHS ลดลงหลังมดลูกบีบตัวแล้ว 30 วินาทีหรือมากกว่านั้น การลดลงหรือกลับสู่สภาพเดิม มักจะเป็นแบบค่อยๆลดและค่อยๆเพิ่มขึ้นเห็นรูปบนกราฟเหมือนรูปตัว “ วี”
2.Early deceleration
FHS เริ่มลดพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูกและกลับเข้าสู่ปกติเมื่อมดลูกคลายตัวเต็มที่ เป็นรุปตัว “ วี” คล้ายกับกระจกเงากับการหดรัดตัวของมดลูก
สาเหตุ
ศีรษะทารกถูกกดเป็นผลของ Vagal nerve เป็นภาวะปกติ มักพบขณะปากมดลูกเปิด 4- 7 เซนติเมตร
1.Accleration
สาเหตุ
การตรวจเลือดหรือการสะกิดหนังศีรษะทารก
การตรวจภายใน
การดิ้นของทารก
การกดสายสะดืออย่างไม่เต็มที่เฉพาะหลอดเลือดดำ
FHS เพิ่มมากว่า 15 bpm ช่วงสั้นๆ 15-20 วินาที อาจสัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกเป็นสัญญาณบอกความปกติของทารก
ลักษณะ FHS ที่บ่งถึงอันตราย Fetal distress
1.Severe bradycardia
2.Severe variable deceleration ที่ไม่มี Variability และมี Tachycardia
3.Repetitive late deceleration
4.Undulating baseline ลักษณะ FHS ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วระหว่าง Tachycardia Bradycardia
5.FHS ที่ผิดปกติรูปแบบต่างๆ ร่วมกับBaseline variability ที่ต่ำกว่าปกติหรือไม่มีเลย
การป้องกัน
1.ให้นอนตะแคง
2.Oxytocin infusion pump ป้องกัน Hyperstimulation
3.Intravenous fluid ก่อนประมาณ 1,000 ml ก่อนให้ Regional anesthesia (เพราะกด Sympathetic nerve)
การรักษา
ประเมินภาวะ Prolapse cord
2.หยุดให้Oxytocin ทันที
3.นอนตะแคง
4.ออกซิเจน 8-10 LPM
5.Tocolytic agent Magnesium sulfate
6.Free flow IV fluid แก้ไข Hypotension
8.Amnioinfusion…ฉีดน้ำเกลือเข้าในโพรงมดลูก ในราย Variable deceleration 150-200 ml/hr เมื่อดีขึ้นลดเหลือ 10-20 ml/hr
7.หาสาเหตุและรักษาภาวะ Hypotension
9.กระตุ้นหนังศีรษะทารก (Fetal scalp stimulation) หรือด้วยเสียง (Acoutic stimulation)
10.ตรวจจากเลือดบริเวณหนังศีรษะทารก (Fetal scalp blood samling)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
ทารกมีโอกาสเสียชีวิต/พิการ
มารดาและทารกอาจได้รับอันตรายจากการช่วย คลอด
วิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารกในครรภ์