Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 1 (การบวมเลือดของแผลฝีเย็บ…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด 1
การบวมเลือดของแผลฝีเย็บ
ชนิด
ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Supralevator)
เกิดขึ้นบริเวณเหนือช่องคลอดขึ้นไป หรือเกิดบริเวณใต้เยื้อบุช้องท้อง
2.ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Infralevator)
ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สาเหตุ Hematoma
2.การตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
3.เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการผูกซ่อมแซมก่อนที่จะเย็บแผลที่ฝีเย็บ
1.การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด เช่น คลอดเองโดยไม่ได้ตัดแผลฝีเย็บ
4.บีบคลึงมดลูกรุนแรง
อาการและอาการแสดง
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ และช่องคลอดอย่างรุนแรงตรวจพบก้อนบวม โป่งแข็งที่แผลฝี เย็บ ส่วนใหญ่ก้อนจะใหญขึ้นเรื่อย
และมีสีม่วงคล้ำ
อาจพบปัสสาวะไม่ได้
การรักษา
พยาบาลหลังคลอดควรประเมินแผลฝีเย็บทันทีเมื่อแรกรับ อาจใช้การประเมินการบวมของแผลฝีเย็บภายหลังคลอดตามแนวทางREEDA
หากก้อนมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 ซม. มีเลือดจานวนไม่มากให้ประคบน้าแข็งเพื่อลดอาการปวดและบวมและประเมินเป็นระยะ
กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่เพิ่มขนาดมากขึ้น การรักษาส่วนใหญ่จะดาเนินการแก้ไขในห้องผ่าตัด
การได้รับสารน้ำ เลือดทดแทนที่สูญเสียไป รวมทั้งสารอาหารที่เพียงพอ
การได้รับยาปฏิชีวนะ
การประเมินสัญญาณชีพทุก 1ชม.และทุก 4ชม.เมื่อคงที่ รวมทั้งอาการและอาการแสดงเพื่อติดตามอาการผิดปกติ
7 . การประเมินระดับความเจ็บปวดและได้รับการยาบรรเทาปวด8. การทาแผล อบแผล หรือการแช่ก้น
การติดเชื้อหลังคลอด(Puerperal infection)
อาการ
ไข้(Fever)เป็นอาการเริ่มแรก 2. ปวดท้องน้อย และกดเจ็บบริเวณ Parametrium 3. น้าคาวปลามีกลิ่นเหม็น 4. น้าคาวปลาไหลนานกว่าปกติ
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น พบได้ถึง 15,000-30,000 เซลล์/มล.6. ในกรณีคลอดทางช่องคลอดอาจพบการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บปวด บวมแดงร้อน หรือมีหนอง7. ในกรณีมีการอักเสบที่แผลผ่าตัดคลอด จะมีอาการปวดมากกว่าปกติ
การรักษา
เมื่อมีการติดเชื้อจะได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังสังเกตุผลข้างเคียงของยา2. การพักผ่อนและ ได้รับสารน้าและอาหารที่เพียงพอ3. การประเมินสัญญาณชีพและบันทึกทุก4ชั่วโมง รวมทั้งอาการและอาการแสดงเพื่อติดตามอาการของภาวะติดเชื้อ
ประเมินการหดรัดตัว และระดับของมดลูก รวมทั้งลักษณะปริมาณสี และ กลิ่นน้าคาวปลา5. การเช็ดตัวเพื่อลดไข้6. การทาแผลต่าง การอบแผลที่ช่องคลอด หรือการแช่ก้น7. การพยาบาลหลัก Aseptic Technigue
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการปนเปื้อนเชื้อโรคจากช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธ์ภายนอกเข้าสู่บาดแผลตั้งแต่แผลฝีเย็บลุกลามไปอุ้งเชิงกราน หรือในโพรงมดลูกใน
มดลูกเข้าอู่ช้า (Subinvolutionof Uterus)
สาเหตุของมดลูกเข้าอู่ช้า
มีเศษรก หรือเยื่อหุ้มรกค้างในมดลูก ทาให้ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก ซึ่งเป็นปัจจัยที่พบบ่อยที่สุด
มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก
การผ่าคลอดทางหน้าท้อง(CesarianSection) ส่วนใหญ่เป็นผลจากการฟื้นสภาพช้าเพราะรอยแผลผ่าตัดที่มดลูก
การติดเชื้อที่โพรงมดลูก
ภาวะที่ทาให้มดลูกมีการยืดขยายมาก เช่น ครรภ์แฝด แฝดน้า ทารกตัวโต
ระยะเวลาการคลอดที่ยาวนาน การได้รับยาคลายความเจ็บปวดก่อนคลอด ซึ่งทาให้กล้ามเนื้อมดลูกผ่อนคลาย และเฉื่อยล้า
การตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป
มีปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ ทาให้ดันมดลูกไว้
ภาวะที่มดลูกคว่าหน้า หรือคว่าหลังมากเกินไป ทาให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ไม่ได้ให้ลูกดูดนม เป็นส่วนที่เพิ่มการหลั่งฮอร์โมนOxytocinของต่อมใต้สมองเมื่อได้รับการกระตุ้นที่หัวนมและลานหัวนม
การกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวภายหลังคลอดช้าเกินไป(Early ambulation)
อาการ
-มดลูกมีขนาดใหญ่และอ่อนนุ่ม คลาหามดลูกไม่ชัดเจนหรือคลาไม่พบ -ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงตามปกติ ซึ่งประเมินได้ภายในระยะเวลา 3 วันหลังคลอด-มีอาการปวดมดลูกผิดปกติเกิน 72 ชม.(Afterbirth Pain) เป็นอาการที่บ่งบอกถึงมีสิ่งตกค้างในมดลูก ทาให้บีบตัวมากกว่าปกติ น้าคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ หรือน้าคาวปลาเป็นสีแดงมีกลิ่นเหม็นอาจพบมีไข้ร่วมด้วย หากเกิดภาวะมดลูกหดรัดตัวไม่ดีอย่างรุนแรงทาให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด ผู้ป่วยจะมีชีพจรเบา เร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น ความดันโลหิตต่าลงมากและช็อคในที่สุด
ภาวะที่มดลูกใช้เวลาคืนสู่ภาวะปกติภายหลังคลอดมากกว่า 6 สัปดาห์ขึ้นไป
การรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกใน 2 ชม.แรกหลังคลอด ทุก 15 นาที หลังจากนั้นทุก 2-4 ชม. จนครบระยะ 24 ชม. รวมทั้งประเมินทุก 4 ชม.หลังคลอด 2-3 วัน
2.ดูแลการแก้ไขตามสาเหตุเมื่อพบความผิดปกติ
ประเมินระดับมดลูกวันละ 1 ครั้งในเวลาเดียวกัน และด้วยวิธีที่เหมือนเดิม
ให้ความรู้มารดาถึงอาการผิดปกติ
ดูแล และกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม.
ส่งเสริมให้น้าคาวปลาไหลได้สะดวก โดยกระตุ้นให้ลุกจากเตียง
หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม รวมทั้งไม่ให้ท้องผูก