Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด (Postpartum Complications)…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด (Postpartum Complications)
การบวมคั่งของเลือด
ชนิด
สูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Supralevator)
เกิดบริเวณเหนือช่องคลอดขึ้นไป/ใต้เยื่อบุช่องท้อง
ต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Infralevator)
เกิดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ฝีเย็บ และปากช่องคลอด
สาเหตุ
การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด
ตัดแผลฝีเย็บไม่เหมาะสม
เส้นเลือดที่ฉีกขาดไม่ได้รับการผูกซ่อมแซมก่อนจะเย็บฝีเย็บ
การเย็บแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล บีบคลึงมดลูกรุนแรง
อาการ
ตรวจพบก้อนบวม โป่งแข็งที่ฝีเย็บ
อาจพบปัสสาวะไม่ได้
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ และช่องคลอดอย่างรุนแรง
ปวดถ่วงคล้ายกับจะถ่ายอุจจาระตลอด
การพยาบาล
ประเมิน REEDA
R = Redness อาการแดงของแผล
E = Edema อาการบวมของแผล
E = Ecchymosis อาการคั่งของเลือด
D = Discharge สารคัดหลั่งจากแผล
A = Approximation การติดของแผล
ขนาดไม่เกิน 5 cm ประคบน้ำแข็งลดปวดและบวม
ขนาดใหญ่ แก้ไขในห้องผ่าตัด
ให้ยาปฏิชีวนะ สารน้ำ เลือดทดแทน ให้สารอาหารที่เพียงพอ
วัด V/S ทุก 1 hr และทุก 4 hr เมื่อคงที่ ประเมินความเจ็บปวด
มดลูกเข้าอู่ช้า
สาเหตุ
มีเศษรก/เยื่อหุ้มรก การคลอดยาวนาน
มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก GA > 6 ครั้งขึ้นไป
C/S ทารกตัวโต ติดเชื้อที่โพรงมดลูก
Bladder full ไม่ให้ลูกดูดนม กระตุ้นการเคลื่อนไหวช้า
อาการ
ลักษณะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
น้ำคาวปลาออกนาน มาก สีแดงมีกลิ่นเหม็น มีไข้
เกิดภาวะตกเลือด
ชีพจรเบาเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น BP ต่ำ Shock
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวใน 2 hr แรกหลังคลอด ทุก 15 นาที
ประเมินระดับมดลูกวันละ 1 ครั้ง เวลาเดียวกัน วิธีเดียวกัน
กระตุ้นให้ลูกดูดนมแม่ทุก 2-3 hr
ส่งเสริมการไหลของน้ำคาวปลาโดยให้ลุกเดินบ่อยๆ
หลีกเลี่ยงไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ผลกระทบ
ทางตรง
มดลูกกลับคืนปกติช้า ใช้เวลารักษานาน
ทางอ้อม
ตกเลือดหลังคลอด ติดเชื้อหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
C/S
Prolong PROM
PV มากเกินไป
ติดเชื้อในช่องคลอดอยู่ก่อนแล้ว
ซีด GDM อ้วน SLE
อาการ
ไข้ ปวดท้องน้อย กดเจ็บ Parametrium
น้ำคาวปลาเหม็น ไหลนานกว่าปกติ
พบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น แผลฝีเย็บปวดบวม แดง ร้อน
การพยาบาล
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ พักผ่อนและได้รับสารน้ำที่เพียงพอ
วัด V/S การหดรัดตัว เช็ดตัวลดไข้ ทำแผลต่างๆ
เต้านมอักเสบเป็นฝี
สาเหตุ
มีน้ำนมเก่าคั่งค้าง ไม่ได้ระบายออก
อาการ
เจ็บที่เต้าคลำได้ก้อน เต้านมสีแดงคล้ำ ปวดถ่วง มีไข้
เต้านมข้างที่เป็นฝีน้ำนมไม่ไหล หรือน้ำนมสีเขียวเหลือง ไม่สบายตัว
การพยาบาล
ให้ยาปฏิชีวนะ บรรเทาปวด เจาะหรือใส่หลอดสวน
ไม่งดดูดข้างที่เป็น ยกเว้นน้ำนมเป็นหนอง ถ้างดดูดข้างที่เป็นให้ช่วยระบายออก
ให้ดื่มน้ำมากๆ สวมยกทรงขนาดพอดี
หลังจากลูกดูด ให้ใช้ความเย็นประคบ
หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือด
มีบาดแผลที่ผนังด้านในหลอดเลือด
เลือดแข็งตัวง่าย
อาการ
อุดตันที่ขา
เท้าและขาบวม
ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำร้อน
คลำได้หลอดเลือดเป็นเส้นแข็ง สีผิวเปลี่ยนสี
ปวดที่น่องเมื่อกระดกปลายเท้า
อุดตันที่ปอด
หายใจลำบาก หายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดแทง
ไอถี่ๆ หรือไอเป็นเลือด หัวใจเต้นเร็ว Shock
การพยาบาล
ให้ยาละลายลิ่มเลือด ให้ความรู้
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุด ได้รับสารน้ำ สารอาหารเพียงพอ
แนะนำให้ยกขาสูงกว่าหัวใจ สอนการหายใจ ประเมินความปวด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด/ซึมเศร้าหลังคลอด
Blue ไม่เกิน 2 weeks
อาการ
นอนไม่หลับ เศร้า ร้องไห้ อ่อนเพลีย วิตกกังวลง่าย ไม่มีสมาธิ ปวดศีรษะ
การรักษา
ให้กำลังใจ ให้ความรู้ พักผ่อนเพียงพอ ติดตามอาการ
Depression นานเกิน 2 weeks
อาการ
ฉุนเฉียวง่าย วิตกกังวล นอนไม่หลับหรือนอนมากไป คิดฆ่าตัวตาย ไม่สนใจลูก เฉยชา สูญเสียความจำ รู้สึกผิด หวาดระแวง
การรักษา
ประเมินอาการ และปรึกษาจิตแพทย์
บำบัดด้วยยา รับฟังปัญหา สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการป่วยแก่ครอบครัว
Sheehan syndrome
สาเหตุ
เสียเลือดมากจนเกิดภาวะ Shock
อาการ
สมดุลเหลือแร่ในร่างกายเปลี่ยน ไม่ผลิตน้ำนม
ไม่มีประจำเดือน ฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า เบื่ออาหาร ขี้หนาว
การรักษา
ให้ฮอร์โมนที่ขาด ป้องกันการตกเลือดในระยะ 24 hr แรกหลังคลอด