Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน (การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury)…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury)
สาเหตุ
การคลอดยาวนาน
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ใช้คีมช่วยคลอด
ใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
การคลอดยาก
การคลอดเร็ว
Cranial injury
Cephal hematoma
ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะใต้ชั้นของเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ เกิดจากมีเลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มกะโหลก ขอบเขตชัดเจน
พบบ่อยบริเวณ Parietal และมักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง
พบก้อนนูนหลัง24ชั่วโมงไปแล้ว จะอยู่นานเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน
จะหายไปเองในระยะเวลา 2-3 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อนอาจทำให้ทารกซีด ตัวเหลือง
Caput succedaneum
เป็นการบวมน้ำบริเวณใต้ชั้นผิวหนังของกะโหลกศีรษะ ขอบเขตไม่ชัดเจน
พบได้ทันทีแรกเกิด ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋ม
ไม่ต้องรักษาก้อนจะหายได้เอง2-3วัน
Subaponeurotic hemorrhage
ก้อนเลือดที่ศีรษะ มีขอบเขตจากหน้าไปหลังเริ่มจากขอบเบ้าตาไปยังท้ายทอย และด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้าง
Molding
การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
ไม่ต้อทำการรักษา ภาวะนี้หายไปได้เองภายใน 2-7วัน
Soft tissue injury
Ecchymosis
เลือดออกที่ตาขาวและจอตา
สาเหตุ
เป็นผลจากเส้นเลือดฝอยที่ตาแตกเนื่องจากความดันโลหิตสูง
การดูแลรักษา จะหายเองภายใน 5 วัน
ตาขาวมีเลือดออกใต้เยื่อตา
สาเหตุ
จากมีหลอดเลือดฝอยแตก รอบๆ แก้วตาเกิดจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดขณะผ่านหนทางคลอด
การดูแลรักษา หายได้เองใน 2-3 สัปดาห์
อาการชอกช้ำ เส้นเลือดฝอยแตกและผิวหนังมีอาการบวมและช้ำเลือด
การดูแลมักจะหายเองใน2-3วัน
สาเหตุ
มาจากการใช้คีมช่วยคลอด
คีมกดกะโหลกศีรษะ ทำให้เกิดรอยช้ำที่ขอบตา
กระดูกหัก
กระดูกขาหัก
กระดูกไหปลาร้าหัก
ไม่ขยับแขน รู้สึกกรอบแกรบ
Moro reflex ทารกยกแขนข้างที่ดีเท่านั้น
กระดูกกะโหลกศีรษะแตก
หลักการดูแลคือ พยายามไม่เคลื่อนไหวบริเวณที่หัก
กระดูกแขนหัก
เส้นประสาทบาดเจ็บ
ฺBrachial palsy
ต้นขนเป็นอัมพาต
แขนส่วนล่างเป็นอัมพาต
พบในทารกที่มีส่วนนำเป็นก้นหรือคลอดยากบริเวณแขนและไหล่ Moro reflex เสียไป
Facial palsy
เกิดจากเส้นประสาทสมองคู่ที่7 ถูกกด
การดูแล
ล้างตาด้วย 0.9% NSS
ดูแลการได้รับนมและน้ำให้เพียงพอ
ให้กำลังใจมารดา
การบาดเจ็บที่สมอง
สาเหตุ
การตกเลือดที่สมอง
คลอดก่อนกำหนด คลอดล่าช้า
ทารกขนาดใหญ่มาก
ขาดออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
กระหม่อมหน้าโปร่งและตึง
พบรอยแยกขนาดกว้างที่รอยต่อกะโหลกส่วนกลาง
การดูแลรักษาพยาบาล
วัดรอบศีรษะทุกวัน
ให้ออกซิเจน 8-10ลิตรต่อนาที
การดูดกลืน ระวังสูดสำลัก
ความพิการแต่กำเนิด
Ankyloglossia
Esophageal Atresia
การพยาบาล
ดูแลป้องกันการสูดสำลัก
จัดให้ทารกนอนในท่าศีรษะสูง ตะแคงหน้า
การรักษา
การผ่าตัดปิดFistula พร้อมทั้งต่อหลอดอาหาร
Cleft Lip and Cleft Palate
ปากแหว่ง รักษาโดยการผ่าตัดเร็วที่สุดเพื่อให้เด็กดูดนมได้
เพดานโหว่ รักษาโดยรอการผ่าตัดเมื่อเด็กมีอายุประมาณ1ปี-1ปีครึ่ง
Gastroschisis, Omphalocele
การรักษารีบใช้ผ้าก๊อสไร้เชื้อชุบ NSS ชุ่มๆคลุมไว้
รีบนำทารกใส่ตู้อบทารกแรกเกิด
Congenital diaphramatic hernia
การพยาบาล
ผ่าตัดทางช่องท้องทันที
ดูแลระบบไหลเวียนเลือด
ป้องกันภาวะขาดออกซิเจน
อาการ
ทรวงอกหนาตัวขึ้น
อาการเขียว :
บริเวณท้องแฟบ