Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphysia & Neonatal Resucitation (Neonatal Resucitation…
Birth Asphysia & Neonatal Resucitation
Newborn asphyxia
หมายถึง ภาวะขาด O2 ในช่วงปริกา เนิด ประกอบด้วย
-Definifion
Metabolic acidosis
PaCO2↑CO2↑(Hypercapnia)
Pa O2 ↓(Hypoxemia)
RR ↓
HR ↓
สาเหต
1.ปัจจัยเสี่ยงก่อนคลอด (Antepartum)
ความดันโลหติสูง รวมถึงภาวะ preeclampsia หรือ eclampsia
ภาวะบวมน้ำทั้งตัวของทารกในครรภ์
ภาวะครรภ์แฝด
ทารกในครรภตัวใหญ่มากกว่าปกติ
อายุครรภ์ < 37 wk. หรือ อายุครรภ ์> 41 wk.
2.ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด (Intrapartum)
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
รกลอกติวผิดปกต
ภาวะเลือดออกมากผิดปกติระหวา่งคลอด
การติดเชื้อของรกและถุงน้ำคร่ำ
ท่าผิดปกติ หรือ คลอดติดไหล่
มารดาได้ร้บยาดมสลบแบบ General anesthesia หรอืยาระงบัปวด
การใชสูติศาสตรห์ัตถการได้แก่การใช้ Forcep เครื่องดูดสุญญากาศ
อาการทารกแรกเกิดที่มีปัญหา
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ค่าออกซิเจนในเลือดตำ
อตัราการเตน้ของหวัใจชา้ลง (Bradycardia) หรอื หวัใจเตน้เรว็ (Tachycardia)
ค่าความดันโลหิตตำ
ภาวการณ์หายใจไม่สม่ำเสมอ หรือ ไม่หายใจ (Apnea) หรือหายใจเร็ว(Tachypnea)
APGAR score ที่ 1 นาท ี ≤ 3 นาท ี จะมอีตัรา การเสยีชวีติและ HIE > ทารกที่มีคะแนนสูงกว่า
ผลการขาดออกซิเจน
ผลต่อระบบหายใจ
ผลต่อระบบทางเดนิปัสสาวะ
ผลต่อสมองและประสาท
ผลต่อระบบทางเดนิอาหาร
ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ผลต่อการเปลยี่นแปลงทางเมตาบอลซิึม
แบ่งตามระดับ ICD 10 เป็น 2 ระดับ
Severe birth asphyxia
Respiration absent or gasping,
Asphyxia with 1 -minute apgar score 0-3
Pulse less than 100 per minute at birth and falling or steady,
White asphyxia
Mild and moderate birth asphyxia
But heart rate 100 /min or above,
Asphyxia with 1-minute Apgar score 4-7
Normal respiration not established within one minute
Blue asphyxia
Neonatal Resucitation
การแปลผล Apgar score และการใหความช่่วยเหลือ
คะแนน 0 -3 ( Severe / White asphyxia)
ดูดเสมหะ ( Suction )
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (PPV)
เช็ดตัวให้แห้งอย่างรวดเร็ว ให้ความอบอุ่น
ถ้าไม่ดีขนึ้ให้ใส่ท่อหลอดลมคอ (Endrotracheal tube / ET tube)
Chest compressions
ให้ยากระตุ้นหัวใจ ได้แก่ เอพิเนฟรีน (Epinephrine / Adrenarine)
ให้สารน้ำ
แนวทางการฟื้นคืนชีพ
อาการของทารกที่ขาดออกซิเจน
ภาวะกดการหายใจ (Respiratory depression)
อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง (Bradycardia)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Muscle tone) ลดลง
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะหายใจเร็ว (Tachypnea)
เขียว (Cyanosis)
การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ (primary apnea) เมื่อขาดออกซิเจน ในช่วงแรกทารกจะหายใจเร็วตามด้วยการ หยุดหายใจ อตัราการเต้นของหัวใจจะเริ่มลดลง แต่ความดัน โลหิตยังคงปกติซึ่งทารกจะสามารถกลับมาหายใจเองได้ใหม่ หลังจากได้รับการกระตุ้นหายใจ
การหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ (Secondary apnea)
หากการขาดออกซิเจนยงัดา เนิน ต่อไปทารกจะเริ่มหายใจเป็นเฮือก (gasp) และตามมาด้วยการหยุด หายใจความดันโลหิตจะเริ่มลดล
ในการหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิทารก จะไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น หายใจด้วยการสัมผสัในกรณีนี้ ทารกต้องการการช่วยหายใจ
ประเมินเม่ื่อทารก
ทารกรอ้งไหห้ือหายใจไหม ?
กล้ามเนื้อของทารกมีแรง หรอืไม่ ?
อายุครรภค์รบกำหนด ไหม
การดูแลหลังการกู้ชีพ
Postresuscitation Therapeutic Hypothermiaใน ทารกที่คลอดจากอายุคุรรภ์ ≥ 36สปัดาห์ที่มีภาวะสมองขาดออกซิเจนควรได้รับการ รักษาด้วยการควบคุมอุณหภมูิร่างกายให้อยใู่นช่วง 33.5°C – 34.5°C
ควรเฝ้าติดตามสญัญาณชีพไปอยา่งตอ่เนื่อง
การหยุดกู้ชีพ
น้ำหนักแรกเกิด<400กรัม
ทารกที่ไมม่ีศีรษะ(Anencephaly)
ทารกแรกเกิดในกรณีที่อายคุรรภ์<23สปัดาห์
ในทารกแรกเกิดที่คลำชีพจรไมพ่บนาน 10นาทีก็ควรหยดุทำการกู้ชีพได้
มีความพิการแตกำเนิดที่ำให้มีโอกาสรอดชีวิตต่ำ