Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
POSTPARTUM COMPLICATIONS (การบวมคั่งของเลือด(Hematoma) (การรักษาพยาบาลHem…
POSTPARTUM COMPLICATIONS
การบวมคั่งของเลือด(Hematoma)
ภาวะที่มีการฉีกขาดของเส้นเลือดดำบริเวณเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ของอวยัวะสืบพันธ์ภายนอก ฝีเย็บ(Perineum)หรือเยอื่บุภายในอุ้งเชิงกราน
ชนิดของHematoma
ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน( Supralevator) อุบัติการณ์น้อยมาก แต่รุนแรงเกิดขึ้นบริเวณเหนือช่องคลอดขึ้นไป(Supravaginal)
ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน( Infralevator)การเกิดHematoma หลังคลอดส่วนใหญ่จะพบที่บริเวณนี้มักเกิดขึ้นบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก(Vulva)
สาเหตุ Hematoma
การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดด าฉีกขาด เช่น คลอดเองโดย ไม่ได้ตัดแผลฝีเย็บ(Episiotomy)
การตัดแผลฝีเย็บที่ไม่เหมาะสม
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
อาการและอาการแสดงHematoma
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บ และช่องคลอดอย่างรุนแรง
ตรวจพบก้อนบวม โป่งแข็งที่แผลฝีเย็บ ส่วนใหญ่ก้อนจะใหญ่ขึ้นเรื่อย และมีสีม่วงคล้ำ
อาจพบปัสสาวะไม่ได้
การรักษาพยาบาลHematoma
พยาบาลหลงัคลอดควรประเมินแผลฝีเย็บทันทีเมื่อแรกรับ อาจใช้การ ประเมินการบวมของแผลฝีเยบ็ภายหลังคลอดตามแนวทางREEDA
หากก้อนมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกนิ 5 ซม.ให้ประคบน้ำแข็งเพื่อลดอาการปวดและบวม
กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่เพมิ่ขนาดมากขนึ้ การรักษาส่วนใหญ่จะ ดำเนินการแก้ไขในห้องผ่าตัด
ควรเปลี่ยนผ้าอนามยัทุก2-3ชั่วโมง
ควรทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังการขับถ่ายอุจจาระ หรือปัสสาวะทุกครั้ง
มดลูกเข้าอู่ช้า (Subinvolutionof Uterus)
ภาวะที่มดลูกใช้เวลาคืนสู่ภาวะปกติ ภายหลงัคลอดมากกว่า 6 สัปดาห์ขึ้นไป
สาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีภายหลังคลอด
มีเศษรก หรือเยอื่หุ้มค้างรกในมดลกู
มีก้อนเนื้องอกภายในมดลูก
การผ่าคลอดทางหน้าท้อง(CesarianSection)
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีขนาดใหญ่และอ่อนนุ่ม คลำหามดลูกไม่ชัดเจนหรือคลำไม่พบ
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงตามปกติ
มีอาการปวดมดลูกผิดปกติเกิน 72 ชม.(Afterbirth Pain)
น้ำคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ
การรักษาพยาบาล
ประเมินการหดรัดตวัของมดลกูใน 2 ชม.แรกหลงัคลอด ทุก 15 นาที หลังจากนั้นทุก 2-4 ชม. จนครบระยะ 24 ชม. รวมทั้งประเมินทุก 4 ชม.หลังคลอด 2-3 วนั
การดูแลเพื่อขดูมดลกู
การได้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก รวมทั้งยา ปฏิชีวนะหากมีการติดเชื้อ
ประเมินระดับมดลกูวนัละ 1 ครั้งในเวลาเดียวกัน และด้วยวิธีที่เหมือนเดิม
ดูแล และกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม.
การติดเชื้อหลังคลอด(Puerperal infection)
การติดเชื้อ แบคทีเรีย โดยทั่วไปจะใช้ตัวบ่งชี้จาก มีไข้ที่อุณหูมิตั้งแต่ 38◦C
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการปนเปื้อนเชื้อโรคจากช่องคลอด หรืออวัยวะสืบ พันธ์ภายนอกเข้าสู่บาดแผลตั้งแต่แผลฝีเย็บลุกลามไปอุ้งเชิงกราน หรือใน โพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
ไข้(Fever)38-39 องศาเซลเซียส
ปวดท้องน้อยและกดเจ็บบริเวณ Parametrium
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น(Foul lochia)
น้ำคาวปลาไหลนานกว่าปกติ
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น พบได้ถึง 15,000-30,000 เซลล์/มล.
การรักษาพยาบาล
ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา
การพักผ่อนและ ได้รับสารน้ำและอาหารที่เพียงพอ
การประเมินสญัญาณชีพและบันทึกทุก4ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัว และระดับของมดลูก รวมทั้งลักษณะ ปริมาณสี และ กลิ่นน ้าคาวปลา
เต้านมอกัเสบเป็นฝี (Breast abscess )
สาเหตุ
เกิดจากการที่มีน้ำนมเก่าคั่งค้างในเต้านม โดยไม่ได้ระบายน้ำนมออก เท่าที่ควร หรือมีท่อน้ำนมอุดตัน
อาการและอาการแสดง
เจ็บที่เต้าคลำได้ก้อน (lump) ที่เกิดจากน้ำนมขังอยู่ในกลีบถุง สร้างน้ำนมและกดเจ็บ (tenderness)
เต้านมมีสีแดงคล้ำปวดถ่วงที่เต้านมกว่าปกติ
ไข ้38-40องศาเซลเซียส
เต้านมข้างที่เป็นฝีน้ำนมไม่ไหล หรืออาจพบว่าน้ำนมมีสีเขียว ปนเหลืองคลา้ยหนอง
การรักษาพยาบาล
ดูแลไดร้ับการรักษาดว้ยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา ตามแผนการ รักษา
ยาบรรเทาความเจ็บปวด
การเจาะหรือใส่หลอดสวน (catheter) เพื่อระบายหนอง
ปกติจะไม่งดดูดนมข้างที่เป็น นอกจากลักษณะของน ้านมจะเปลี่ยนสี รวมทั้งเมื่อตรวจพบเชื้อโรคในน ้านมเท่านั้น จึงงดการให้นมข้างที่เป็นใน ก่อนในระยะแรกก่อน
ในกรณีที่ให้งดดูดเต้านมข้างที่เป็นก่อน ต้องดูแลช่วยเหลอืมารดาใน การทำให้เต้านมข้างที่เป็นว่าง
ในกรณีที่สีน้ำนมไม่เปลยี่น หรือตรวจไม่พบเชื้อโรคในน้ำนม จะต้อง กระตุ้นให้ลูกดูดนมข้างที่เป็นก่อนโดยใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่นจดัประคบที่เต้านม ก่อนให้บุตรดูดนม
หลังจากลูกดูด หรือหลังบีบน้ำนมใชค้วามเยน็ประคบ เพื่อ ลดอาการปวด
หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน (Thrombophlebitis)
ภาวะที่มีก้อน หรือลิ่มเลือดภายในหลอดเลือด ทำให้เส้นเลือดบางส่วน เกิดการอุดตัน ทำให้อวัยวะส่วนนั้นบวมแดงอักเสบ
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของเลือดดำเช่น เลือดไหลเวียนช้าลง (Stasis) ในระหว่างตั้งครรภ์
การมีบาดแผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดา (Vascular endothelial injury)
เลือดแข็งตัวได้ง่าย (Hypercoagulability)
อาการและอาการแสดง
Deepvenous thrombosis
เท้าและขาบวมใหญ่ขึ้น
ปวดเวลาเดิน กดเจ็บ คลำ ร้อน
อาจคลำ ได้หลอดเลือดเป็นเส้นแข็ง
มีอาการปวดที่น่องเมื่อ กระดกปลายเท้าขึ้น ( positive Homan’s sign)
Pulmonary embolism
หายใจลำบาก เวลาหายใจเข้าเจ็บเหมือนถูกมีดแทง
ไอถี่ๆ หรือไอเป็นเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
ภาวะช็อก
การรักษาพยาบาล
ให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดำ และยา กิน เช่น Heparin
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุด (early ambulation)
แนะนำให้ยกขาสูงกว่าหัวใจเพื่อเพิ่มการไหล กลับของเลือดดำ (venous return)
กระตุ้นใหบ้ริหารเทา้และข้อเท้า (foot & ankle exercise)
ภาวะอารมณ์เศร้าหลงัคลอด (Postpartum blues)
เป็นปัญหาสุขภาพจิตจากปรับตัวที่ยังไม่เป็นภาวะป่วย
อาการ
นอนไม่หลับ , รู้สึกเศร้า อยากร้องไห ้,อ่อนเพลีย , วิตกกังวลง่าย, ไม่ค่อยมีสมาธิ, ปวดศีรษะ
การบำบัดรักษา
ให้ความมั่นใจและกำลังใจกับมารดาหลังคลอด
ให้ข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารก
แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด(Postpartum Depression)
เป็นภาวะป่วย มีความรุนแรงกว่าภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blue)
สาเหตุ
การสูญเสียคุณค่าในตนเองในระยะตั้งครรภ์
มารดามีอายนุอ้ย
อาการและอาการแสดง
ฉุนเฉียวง่ายหรืออารมณ์โกรธ
ความวิตกกังวล อารมณ์แกว่งอย่างไม่มีเหตุผล
ปัญหาทางการนอนเช่น นอนไม่หลับหรือนอนมากเกินไป
มีความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
ขาดความสนใจในตวัลกู
การรักษาพยาบาล
หากมีอาการควรประเมินอาการเบื้องต้นทันทีทุกราย
ปรึกษาจิตแพทยเ์พื่อ ให้การวินิจฉยัและบำบัดรักษา
การพยาบาลในระยะหลังคลอดครอบคลุมการป้องกันมารดา ไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด และดูแลมารดาที่มีภาวะซึมเศร้า
โรคนี้อาจรุนแรง ถึงขนาดมีการท าร้ายตนเอง หรือท าร้ายลูก
กลุ่มอาการชีแฮน (Sheehan syndrome)
ภาวะที่ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) เกิดการขาดเลือดไปเลี้ยงอย่าง เฉียบพลันท าให้ต่อมใต้สมองส่วนหน้าสูญเสียการท างาน
สาเหตุ
ปริมาณเลือดที่เสียจะมากจนเกิดภาวะช็อก
ช่วงต้ังครรภ์จนถึงหลงัคลอดใหม่ๆต่อมใต้สมองจะมขีนาดใหญ่ขึ้น
อาการและอาการแสดง
การทำงานต่อมหมวกไตผดิปกติ ทำให้การรักษาสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย สูญเสียไป
การไม่ผลติน ้ำนม ไม่มีน้ำนมเลี้ยงดูบุตรหลังคลอด
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต ่ำ
การรักษาพยาบาล
ในกรณีที่ไทรอยดฮ์อร์โมนต่า ต้องรักษาโดยการเสริมไทรอยด์ฮอร์โมน เช่น eltroxin, hydrocortisone
การป้องกันระยะ 24ชม.หลังคลอดต้องเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดอย่าง ใกลช้ิด