Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน (6.4 ความพิการแต่กำเนิด …
บทที่ 6 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
6.3การบาดเจ็บจากการคลอด(Birth injury)
การบาดเจ็บจากการคลอด(Birth injury)
Cranial injury
มีเลือดออกที่ตาขาวและจอตา
ตาขาวมีเลือดออกใต้เยื่อตา
(Subconjunctival hemorrhage)
4.อาการชอกช้ำ มีเส้นเลือดฝอยแตก และผิวหนังมีอาการบวม
และช้ำเลือด (Ecchymosis & petechai & edema)
5.กระดูกหัก (Skeletal injuries/ hemorrhage)
เส้นประสาทบาดเจ็บ(Nerve injuries)
การบาดเจ็บที่สมอง ( Brain injuries)
1.Cranial injury
1.1 Caput succedaneum
คือ ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะในชั้นของหนังศีรษะ
หมายถึง การบวมน้ำของเนื้อเยื่ออ่อนของหนังศีรษะ
-มีขอบเขตไม่ชัดเจน
-
สาเหตุ
การเกิดบวมน้ำบริเวณใต้ชั้นผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
2.เกิดจากหลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
3.ถูกบีบรัดโยปากมดลูกเป็นเวลานาน
4.เกิดจากศีรษะของทารกถูกกดขณะคลอด
อาการแสดง
รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
คลำขอบเขตได้ไม่ชัดเจน
พบได้ทันทีแรกเกิด โดยคลำพบก้อนบวมได้บริเวณ
occipito parietal region
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่ต้องการการรักษา ก้อนจะหายไปเอง 2-3 วัน
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ของ capu
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
ถ้ามีรอยแดงช้ำ(ecchymosed)มาก อาจต้องส่องไฟ
เพื่อรักษาภาวะตัวเหลืองให้ทารก
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
1.2 Cephal hematoma
คือก้อนโนบนกะโหลกศีรษะใต้ชั้นของเยื้อหุ้มกะโหลกศีรษะ เป็นเลือดที่สะสมอยู่ใต้เยื้อหุ้มกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ในเด็กแรกเกิดที่บาดเจ็บจากหัวเด็กผ่านทางคลอด หรือจากการการใช้เครื่องช่วยทำคลอด
อาการ
-พบก้อนนูนหลัง 24 ชม ไปแล้วก้อนจะใหญ่ขึ้นจนขนาดหนึ่งจึงหยุดโต
-คลำพบก้อนนูนอยู่บนกะโหลกศีรษะแต่ะชิ้น
-ลักษณะก้อนค่อนข้างตึง มีขอบเขตชัดเจน
-ทารกอาจซีด เพราะเสียเลือดมาก
การรักษา
-ไม่ต้องการรักษา ห้ามเจาะดูุดหรือระบายเพราะอาจเกิดการติดเชื้อได้
-อาการบวมจะหายได้เองในหลายสัปดาห์ โดยทั่วไปเลือดมักจะหยุดเองและค่อยๆถูกดูดซึมหายไปได้เองในระยะเวา 2-3 wk หรือบางรายใน 2 เดือน
1.3 Subaponeurotic hemorrhage
(Subgaleal hemorrhage; SGH)
คือก้อนเลือดที่ศีรษะเป็นภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่อง่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหกศีรษะกับเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ก้อนมีขนาดเพิ่มขึ้นช้าๆ ในหลายชั่วโมงหรือหลายวัน
หรือเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็ว
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง (Hypotonic)
อาจทำให้ทารกมีอาการช็อกจากการเสียเลือดโดยปรากฏอาการซีด
อาการ
รอยบวมข้ามรอยต่อส่วนกลางศีรษะ (Suture line)
มีลักษณะนุ่ม (Fluctuant)
การบวมปรากฏหลังเกิดหลายชั่วโมง
เลือดอาจเซาะทั่วศีรษะถึงหน้าผาก ขมับด้านข้างและท้ายทอย
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
1.4 Molding
หมายถึง การเกยกันของกระดูกกะโหกศีรษะ
สาเหตุ
เกิดจากทารกมีการปรับขนาดของศีรษะ
เพื่อให้สามารถผ่านช่องคลอดของมารดาได้
อาการ
ทารกที่เกิดท่าศีรษะเป็นส่วนนำ ทำให้ศีรษะมีรูปร่างยาว
การดูแลรักษา
ไม่ต้องการการรักษาพยาบาล
ภาวะนี้จะหายได้เองภายใน 2-7วันหลังคลอด
1.5 การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
(Soft tissue injuries)
อาการ / ตรวจพบ
รอยช้ำและเป็นก้อน
การดูรักษา
ไม่ต้องการการรักษา มักจะหายไปเอง
1.6 จ้ำเลือดใต้ผิวหนัง(Ecchymosis)
สาเหตุ
จากการคลอดโดย Vacuum
Forceps extraction
เลือดออกที่ตาขาวและจอตา
ตาขาวมีเลือดออกใต้เยื่อตา
(Subconjunctival hemorrhage)
อาการชอกช้ำ เส้นเลือดฝอยแตก และผิวหนังมีอาการบวม
และช้ำเลือด (Ecchymosis & petechai &edema)
5.กระดูกหัก (Skeletal injuries)
1.กระดูกไหปลาร้าหัก(fracture clavicle)
2.กระดูกต้นแขนหัก(fracture humerus)
3.กระดูกต้นขาหัก(fracture femur)
4.กระดูกกะโหลกศีรษะแตก(fracture skull)
เส้นประสาทบาดเจ็บ (Nerve injury)
6.1 Brachial palsy
1.ต้นแขนเป็นอัมพาต
(Brachial paralysis of upper arm)
2.แขนส่วนล่างเป็นอัมพาต
(Brachial paralysis of lower arm:
Klumpke palsy)
6.2 Facial palsy
: ใบหน้าเป็นอัมพาต
สาเหตุ
1.การคลอดยาก
การคลอดยาวนาน
3.การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ใช้ครีมช่วยคลอด
ใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
4.การคลอดเร็ว (precipitate labor)
6.4 ความพิการแต่กำเนิด
(Congenital anomalies)
ส่วนใหญ่มีอาการและอาการแสดงปรากฏชัดตั้งแต่ระยะแรกเกิดและ มักจะมีความพิการร่วม (Associated anomalies)ของอวัยวะหรือระบบอวัยวะอื่นด้วย
พิจารณาดังนี้
ความพิการที่ไม่ต้องการการรักษา
ความพิการที่สามารถรักษาให้หายขาดได้
(Curable problems)
ความพิการที่สามารถรักษาได้โดยมีความพิการที่เหลืออยู่
สรุปการส่งต่อทารกแรกเกิดที่มีปัญหาทางศัลยกรรม
ป้องกันและแก้ไขภาวะ Hypothermia
ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
(Naso-or orogastric intubation)
ท่าของทารก (Position)
ปากแหว่ง เพดานโหว่
(Cleft Lip and Cleft Palate)
สาเหตุ
พันธุกรรม/สื่งแวด้อม
รักษา
ทำการผ่าตัดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา-ทารก
เพดานโหว่
อาจเกิดเฉพาะบริเวณเพดานอ่อน หรือรวมไปถึงเพดานแข็ง
รักษา
มักจะทำการผ่าตัดปิดรอยโหว่ในภายหลังส่วนใหญ่มักจะรอทำเมื่อเด็กอายุประมาณ 1-1 ½ ปี
ถ้าผ่าตัดเร็วเกินไปจะเป็นอันตรายต่อรากฟัน
ในกรณีที่ต้องรอทำการผ่าตัดเป็นเวลานาน ๆ
มักจะใช้เพดานเทียม (Obturator) ปิดรอยโหว่ไว้ก่อน
• จะพบปากแหว่งและเพดานโหว่ร่วมกันบ่อยกว่าปากแหว่งหรือ
เพดานโหว่อย่างเดียวเกือบ 2 เท่า
หลอดอาหารตีบตันโดยกำเนิด
(Esophageal Atresia)
อาการ
. มีอาการหายใจเร็ว มีเสียงครืดคราดใน
ลำคอมีน้ำาลายออกมาตลอดเวลา
รักษา
การผ่าตัดปิด Fistula พร้อมทั้งต่อหลอดอาหารให้
การพยาบาล
ดูแป้องกันการสูดสำลัก/จัดให้ทารกนอนศีรษะตะแคงหน้า
ความพิการแต่กำเนิดของระบบทางเดินอาหาร
Ankyloglossia ( Tongue-Tie)
• เป็นภาวะลิ้นติด เกิดจากมีภาวะผิดปกติของ Frenulum
ปากแหว่ง