Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน ในระยะหลังคลอด 1
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะหลังคลอด 1
1.การบวมเลือดของแผลฝีเย็บ
(Hematoma)
สาเหตุ
บีบคลึงมดลูกรุนแรงทำให้เลือดคั่ง
การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บไม่ถึงก้นแผล
การคลอดที่รวดเร็วจนเส้นเลือดดำฉีกขาด
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบก้อนบวมโป่งแข็งที่แผลฝีเย็บ
ปวดหน่วงแผลฝีเย็บและช่องคลอดอย่างรุนแรง
ถ้าตำแหน่งที่เลือดคั่งอยู่ต่ำกว่า Urogenital diaphragm ก้อนเลือดที่คั่ง
ชนิดของHematoma
1.ตำแหน่งสูงกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Supralevator)
ภาวะสูญเสียเลือดเฉียบพลันและรวดเร็ว
2.ตำแหน่งต่ำกว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Infralevator)
การเกิดHematonmaหลัง
คลอด
ส่วนใหญ่จะพบที่บริเวณนี้
การรักษาพยาบาล
หากก้อนมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลาง
ไม่เกิน 5 ซม.ให้ประคบน้ำแข็ง
กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่เพิ่มขนาดมากขึ้นต้องผ่าตัด
การได้รับสารนำเลือดทดแทนที่
การได้รับยาปฏิชีวนะ
1.พยาบาลหลังคลอดควรประเมินแผลฝีเย็บทันที ตามแนวทางREEDA: Evaluating Postpartum Healing
R = Redness อาการแดงของแผล
E = Edema อาการบวมของแผล
E = Ecchymosis อาการคั่งของเลือด
D = Discharge สารคัดหลั่งจากแผล
A = Approximation ลักษณะการติคของแผล
3.การติดเชื้อหลังคลอด
(Puerperal infection)
ติดเชื้อเบคทีเรีย
มีไข้สูง 38 องศา
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น (Foul lochia)
ปวดท้องน้อยและกดเจ็บบริเวณ Parametrium
ไข้ (Fever)
การรักษาพยาบาล
การเช็ดตัวเพื่อลดไข้
ประเมินการหดรัดตัวและระดับของมดลูกรวมทั้งลักษณะปริมาณสีและกลิ่นน้ำคาวปลา
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำและเฝ้าระวังสังเกตุผลข้างเคียง
ปัจจัย
ภาวะ Gestational Diabetes Millitus: GDM
มีการติดเชื้อในช่องคลอด
Prolong PROM
อ้วน Obesity
4.เต้านมอักเสบเป็นฝี
(Breast abscess)
อาการและอาการแสดง
ไข้ 38-40 องศาเซลเซียส
เต้านมมีสีแดงคล้ำปวดถ่วงที่เต้านมกว่าปกติ
เจ็บที่เต้าคลำได้ก้อน (Jump)
การรักษาพยาบาล
ในกรณีที่มีน้ำนมไม่เปลี่ยนหรือตรวจไม่พบเชื้อโรคในน้ำนมจะต้องกระตุ้นให้ลูกดูดนมข้างที่เป็นก่อน
ปกติจะไม่งดดูดนมข้างที่เป็นนอกจากลักษณะของน้ำนมจะเปลี่ยนสี
หลังจากลูกดูดหรือหลังบีบน้ำนมใช้ความเย็นประคบลดอาการปวดและลดบวม
ยาบรรเทาความเจ็บปวด
เมื่ออาการของเต้านมที่เป็นฝีดีขึ้นควรสอนให้มารดาให้นมลูกท่า Football hold
ดูแลได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
ปัจจัย
ลูกดูดน้ำนมออกไม่เกลี้ยงเต้า
แม่ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี
หัวนมแห้งแตก
ท่อน้ำนมอุดตัน
สาเหตุ
เกิดจากการที่มีน้ำนมเก่าคั่งค้างในเต้านมเท่าที่ควร
2.มดลูกเข้าอู่ช้า
(Subinvolution of Uterus)
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบลักษณะของมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
น้ำคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติน้ำคาวปลาเป็นสีแดงมีกลิ่นเหม็นอาจพบมีไข้ร่วม
หากเกิดภาวะมดลูกหดรัดตัวไม่ดีอย่างรุนแรงทำให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
การรักษาพยาบาล
ประเมินระดับมดลูกวันละ 1 ครั้ง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกใน 2 ชม. แรกหลังคลอดทุก 15 นาที
หลังจากนั้นทุก 2-4 ชม. จนครบระยะ 24 ชม.
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก
ดูแลและกระตุ้นให้บุตรดูดนมแม่ทุก 2-3 ชม.
สาเหตุ
คลอดที่ยาวนาน
การตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป
การติดเชื้อที่โพรงมดลูก
การผ่าคลอดทางหน้าท้อง
มีเศษรกหรือเยื่อหุ้มรกค้างในมดลูก
ไม่ได้ให้ลูกดูดนม
ผลกระทบ
การตกเลือดหลังเลือด เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อค
การติดเชื้อหลังคลอด เสี่ยงต่อการผ่าตัดมดลูกทิ้ง
5.หลอดเลือดดำอักเสบจากการอุดตัน (Thrombophlebitis)
สาเหตุ
การมีบาดแผลที่ผนังด้านในของหลอดเลือดดำ
เลือดแข็งตัวได้ง่าย (Hypercoagulability)
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของเลือดดำ
ปัจจัยเสี่ยง
การคลอดหลายครั้ง
ครรภ์แฝด
ประวัติสูบบุหรี่
ภาวะอ้วน
อายุมากกว่า 35 ปี
อาการและอาการแสดง
ปวดเวลาเดินกดเจ็บคลำร้อน
มีอาการปวดที่น่องเมื่อกระดกปลายเท้าขึ้น (positive Homan 's sign)
เท้าและขาบวมใหญ่ขึ้น
การรักษาพยาบาล
กระตุ้นให้บริหารเท้าและข้อท้า (foot & ankle exercise)
สอนการบริหารการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบริหารเท้าและข้อเท้า (foot & ankle exercise)
การรักษาทางยาโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ
กระตุ้นการเคลื่อนไหวหลังคลอดกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวโดยเร็วที่สุด (early ambulation
6.ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues) และภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression)
Postpartum blues
สาเหตุ
มักเกิดอาการไม่เกิน 2 สัปดาห์
อาการ
อ่อนเพลีย
วิตกกังวลง่าย
รู้สึกเศร้า อยากร้องไห้
ไม่ค่อยมีสมาธิ
นอนไม่หลับ
การบำบัดรักษา
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ
ให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารกหรือให้ความช่วยเหลือในการดูแลทารก
ให้ความมั่นใจและกำลังใจกับมารดาหลังคลอด
Postpartum Depression
สาเหตุ
มักเกิดอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
การรักษาพยาบาล
ป้องกันมารดาไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ปรึกษาจิตแพทย์
ประเมินอาการเบื้องต้นทันทีทุกราย
อาการ
คิดที่จะฆ่าตัวตาย
ทำร้ายลูก
มีความเฉื่อยชา
ปัญหาทางการนอน
ฉุนเฉียวง่าย
7.กลุ่มอาการชีแฮน (Sheehan syndrome)
อาการและอาการแสดง
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
การไม่ผลิตน้ำนมไม่ดี
มีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยล้าเบื่ออาหาร
การทำงานต่อมหมวกไตผิดปกติ
การรักษา
2.การให้ฮอร์โมนเพศหญิงชดเชยหากฮอร์โมนเพศหญิงต่ำหรืออาจต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้รังไข่ทำงานในรายที่ยังต้องการมีบุตรอีก
การป้องกันระยะ 24 ชม. หลังคลอดต้องเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
กรณีที่ไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำต้องรักษาโดยการเสริมไทรอยด์ฮอร์โมน
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่มีภาวะตกเลือดก่อนคลอด
สตรีที่มีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติทั่วร่างกาย (Disseminate intravascular coagu lopathy: DIC)
ผลกระทบ
อาจทำให้ไม่มีน้ำนมเลี้ยงดูบุตร
ต้องกินฮอร์โมนทดแทนตลอดชีวิต
สาเหตุ
ปริมาณเลือดที่เสียจะมากจนเกิดภาวะช็อก
ช่วงตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดใหม่ๆต่อมใต้สมองจะมีขนาดใหญ่ขึ้น