Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพืช (ธาตุอาหารของพืช (แคลเซ๊ยม (Ca)…
การลำเลียงน้ำ
ธาตุอาหาร
และอาหารของพืช
ธาตุอาหารของพืช
แคลเซ๊ยม (Ca)
ความสำคัญ
สรา้งเมล็ด
ช่วยการงอกของเมล็ด
อาการเมื่อขาด
แตกใบอ่อนช้า
ระบบรากไม่เจริญ ผลแตก
แมกนีเซียม (Mg)
ความสำคัญ
เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์
สังเคราะห์โปรตีน
อาการเมื่อขาด
ใบสีเหลืองซีด
ใบกรอบ หักง่าย
โพแทสเซียม (K)
ความสำคัญ
ควบคุมการออสโมซีส
ควบคุมการเปิดปิดปากใบ
อาการเมื่อขาด
ลำต้นอ่อนแอ ล้มง่าย
ผลไม่เจริญ รสชาติไม่ดี สีไม่สวย
ฟอสฟอรัส (P)
ความสำคัญ
ควบคุมการออกดอก ติดผล สร้างเมล็ด เร่งราก
เป็นองค์ประกอบของสารพันธุกรรม
อาการเมื่อขาด
รูปร่างใบผิดปกติ มีสีม่วง
ออกดอกช้า
กำมะถัน (S)
ความสำคัญ
สังเคราะห์สารระเหยง่าย กลิ่น
เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
อาการเมื่อขาด
ลำต้นผอม ลีบเล็ก
ยอดชะงัก ไม่เจริญเติบโต
ไนโตรเจน (N)
ความสำคัญ
เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์
เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์
เป็นองค์ประกอบของสารพันธุกรรม
อาการเมื่อขาด
ใบเหลืองจากล่างขึ้นบน
ลำต้นแคระเกร็น
การลำเลียงในพืช
ไซเล็ม
ใช้ลำเลียงน้ำ
ใช้ลำเลียงธาตุอาหาร
ตำแหน่งเมื่อตัดตามขวาง
บริเวณราก
จะอยู่กลางของราก
บริเวณลำต้น
จะอยู่ขอบของลำตัน
โฟลเอ็ม
ตำแหน่ง
บริเวณราก
ถัดออกมาจากไซเล็ม
บริเวณลำต้น
ถัดออกมาจากไซเล็ม
ใช้ลำเลียงอาหาร
สาเหตุที่พืชขาดธาตุอาหาร
ดินมีธาตุอาหารไม่เพียงพอ
ธาตุอาหารอยู่ในรูปที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้
ดินมีคุณสมบัติไม่เหมาะสม
ความพรุนรวมลดลง
อินทรียวัตถุในดินเปลี่ยนแปลง
ปลูกชนิดเดิมนานๆ
ไม่มีการพักดิน
ไม่มีการบำรุงดิน
ความหนาแน่นรวมเพิ่มขึ้น
การใช้สารเคมีทำให้ดินเป็น กรด-เบส
เนื้อดินจับตัวกันแน่น
การแก้ปัญหา
พืชขาดสารอาหาร
วิเคราะห์ดิน
วิเคราะห์เนื้อเยื่อพืช
สังเกตอาการพืช
ประเภทปุ๋ย
ปุ๋ยอินทรีย์
ได้จากการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์
เช่น
ปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยพืชสด
ปุ๋ยคอก
ปุ๋ยชีวภาพ
ปุ๋ยที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่
เช่น
การใช้สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเพื่อเพิ่มไนโตรเจน
การใชไมคอร์ไรซ่า เพื่อเพิ่มฟอสฟอรัส
ปุ๋ยเคมี
ได้จากการสังเคราะห์
สูตรปุ๋ย N : P : K