Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน (Birth injury (Cranial injury …
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
Birth injury
Cranial injury
Caput succedaneum
ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะ ในชั้นของหนังศีรษะ
อาการแสดง / ตรวจพบ
การบวมน้ำของเนื้อเยื่ออ่อนของหนังศีรษะ มีขอบเขตไม่ชัดเจน อาจข้ามรอยประสานของกระดูกกะโหลกศีรษะได้
คลำ พบก้อนบวมได้บริเวณ occipito parietal region
รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋มภายหลังปล่อยนิ้วออก
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่ต้องการการรักษา ก้อนจะหายไปเอง 2-3วันหรือจนถึง 3-4สัปดาห์ แล้วแต่ขนาดของก้อน
สาเหตุ
การเกดิบวมน้ำบริเวณใต้ช้ันผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
เกิดจากหลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
Subaponeurotic hemorrhage
ก้อนเลือดที่ศีรษะ เป็นภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อ ที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกศีรษะ (Galea aponeurotic) กับเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ (Periosteum)
มีขอบเขตจากหน้าไปหลังเริ่มจากขอบเบ้าตา (Orbital ridge) ไปยังท้ายทอย และด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้าง
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
Molding
การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ (molding of the skull bones)
การดูแลรักษาพยาบาล
ภาวะนีจ้ะหายได้เองภายใน 2-7วนัหลังคลอด
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ (Soft tissue injuries)
อาการ / ตรวจพบ รอยช้ำและเป็นก้อน
การดูแลรักษาพยาบาล ไม่ต้องการการรักษา มักจะหายไปเอง
จ้ำเลือดใต้ผวิหนัง(Ecchymosis)
Cephal hematoma
ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะใต้ชั้น ของเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ (subperiosteum หรือ subpericranium) เกิดจากมีเลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มกะโหลก
พบบ่อยบริเวณ Parietal และมักเป็นขา้งใดข้างหนึ่ง
อาการแสดง / ตรวจพบ
พบก้อนนูนหลัง 24ชั่วโมงไปแล้ว ก้อนจะค่อยๆมีขนาดใหญ่ขึ้นจนถึงขนาดหนึ่งจึงหยุดโต และ คงอยู่นานหลายสัปดาห์หรือเป็นเดือน (เฉลยี่ 3-6สัปดาห์)
ลักษณะก้อนค่อนข้างตึง มีขอบเขตชัดเจน เมื่อใช้นิ้วกดจะไม่เป็นรอยบุ๋มหลังปล่อยนิ้วจะโป่งตึงเช่นเด
ทารกอาจซีด เพราะเสียเลือดมากทารกซีด ตัวเหลือง และช็อกได้
การดูแลรักษา
หายไปได้เองในระยะเวลา 2-3 สัปดาห์หรือบางรายภายใน 2เดือน
เลือดออกที่ตาขาวและจอตา
สาเหตุ
เป็นผลจากเส้นเลือดฝอยที่ตาแตก เนื่องจากความดันโลหิตสูง
อาการมกัจะหายเองภายใน 5วัน
ตาขาวมีเลือดออกใต้เยื่อตา (Subconjunctival hemorrhage)
มีหลอดเลือดฝอยแตก รอบ ๆ แก้วตา เกิดจากการเพมิ่ความดันภายในหลอดเลือดขณะผ่านหนทางคลอด
หายได้เองภายใน 2-3สัปดาห์
กระดูกหัก (Skeletal injuries)
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture clavicle)
อาการและอาการแสดง
ทารกไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก
รู้สึกกรอบแกรบเมื่อคลำบริเวณที่กระดูกหัก
แขน 2 ข้าง เคลื่อนไหวไม่เท่ากันเมื่อทดสอบ Moro reflex ทารกยกแขนข้างที่ดีเท่าน้ัน
การดูแลรักษาพยาบาล
จัดให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว (Immobilized) โดยกลัดแขนเสื้อตดิกบัตัวเสื้อ ให้ข้อศอกงอ 90 องศาชิดลำตัว
เส้นประสาทบาดเจ็บ (Nerve injury)
Brachial palsy
ขยับมือไม่ได้ ข้อมือตก นิ้วคลายกำไม่ได้แต่มี Moro Reflex ไหล่และแขนส่วนบนเหยียดกางเป็นปกติ พบในอันตรายต่อส่วนล่าง
การดูแลรักษาพยาบาล
จำกัดความเคลื่อนไหว (Immobilized) แขนข้างที่ เป็นด้วย Braceหรือ Splint
ใบหน้าเป็นอมัพาต (Facial palsy
ส่วนใหญ่เกิดมาจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ถูกกด
กล้ามเนื้อของใบหน้าซีกที่เส้นประสาทถูกกดจะไม่ขยับเคลื่อนที่เมื่อ ทารกร้องไห้ ทำให้มีการดึงร้ังกล้ามเนื้อใบหน้าขณะร้องไห้
ตาซีกที่เสียจะปิดไม่สนิท หรือลืมตาอยู่ตลอดเวลา
การดูแลรักษาพยาบาล
ล้างตาให้สะอาดด้วย 0.9% N.S.S. และหยอดตาด้วย kemicitine หรือ eye ointment ตามแผนการรักษา แล้วปิดด้วย sterileeye pad วนัละ 2 คร้ัง
ดูแลการได้รับนมและน้ำให้เพียงพอ ให้มารดาสอดหัวนมเข้าทาง มุมปากข้างที่ปกติ สังเกตการดูดกลืนและระวังการสำลัก
ความพิการแต่กำเนิด (Congenital anomalies)
ปากแหว่ง เพดานโหว่ (Cleft Lip and Cleft Palate)
ปากแหว่ง (Cleft Lip)
สาเหตุ
พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม เช่น พ่อแม่มีอายุมาก แม่ขาดอาหาร, ได้รับยาบางชนิดหรือถูกรังสีขณะตั้งครรภ์ ความพกิารนีเ้กดิขนึ้ต้งัแต่เป็นตัวอ่อนในครรภ์เกดิเป็นรอยแหว่งขนึ้
การรักษา จะทำการผ่าตัดเร็วที่สุดที่จะทำได้เพื่อให้เด็กดูดนมได้
เพดานโหว่ (Cleft Palate)
อาจเกิดเฉพาะบริเวณเพดานอ่อน หรือรวมไปถงึเพดานแข็งจะพบปากแหว่งและเพดานโหว่ร่วมกนับ่อยกว่าปากแหว่งหรือ เพดานโหว่อย่างเดียวเกือบ 2เท่า
การรักษา :โดยการผ่าตัดตบแต่ง ปิดรอยแหว่งหรือรอยโหว่
การพยาบาล ในระยะก่อนผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ โดยใช้ medicine dropper ค่อยๆป้อน เพื่อป้องกนัการสำลักนมและน้ำ
อุ้มเรอบ่อยๆ หลังป้อนนม จัดให้ทารกนอนท่าตะแคงขวา
การพยาบาลหลังผ่าตัดตกแต่งปากแหว่ง
ดูแลไม่ให้ทารกร้องไห้ และไม่ให้ทารกออกแรงดูดนมเอง ยงัคงใช้ medicine dropper ป้อนนมต่อ 1-2 wk.
ดูแลไม่ให้ทารกเอามือมาแกะหรือเกาแผล
หลงัผ่าตัดตบแต่งเพดานโหว่
ป้องกันแผลแยก
ป้องกันแผลติดเชื้อ : ให้น้ำตามหลังการให้นม
ป้องกันทางเดินหายใจอุดตัน : ให้นอนคว่ำตะแคงหน้า หรือนอนตะแคง
Ankyloglossia ( Tongue-Tie)
เป็นภาวะลิ้นติด เกิดจากมีภาวะผิดปกติของ Frenulum
อาการและอาการแสดง
มีอาการหายใจเร็ว มีเสียงครืดคราดในลา คอ มีน้ำลายออกมาตลอดเวลา
การรักษา การผ่าตัดปิด Fistula พร้อมท้้งต่อหลอดอาหารให้
การพยาบาล 1. ดูแลป้องกันการสูดสำลัก
จัดให้ทารกนอนในท่าศีรษะสูง ตะแคงหน้า
Omphalocele และ Gastroschisis
การพยาบาลเบื้องต้น
รีบใช้ผ้าก๊อสไร้เชื้อชุบ NSS.ชุ่มๆคลุมไว้ เพื่อป้องกนัเนื้อเยื่อแห้ง แตก หรือติดเชื้อ
รีบนำทารกใส่ตู้อบทารกแรกเกิด ( a warmed incubator) ไม่วางทารกไว้ใต้ radiant heat
ไส้เลื่อนกระบังลม (Congenital diaphragmatic hernia)
อาการและอาการแสดง
มีอาการเขยีว (Cyanosis)หายใจลา บาก เสียงหายใจลดลง
สังเกตพบทรวงอกหนาขึ้น(Bulgy chest) ส่วนบริเวณท้องแฟบ (Scaphoid abdomen)
การพยาบาล
ดูแลป้องกันภาวะขาดออกซิเจนสำคัญที่สุด
ดูแลให้ระบบไหลเวียนโลหิตทำงานปกติ