Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่1และ2 (9.Prolapse cord (การรักษา…
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่1และ2
8.Rupture Vasa Previa
อาการ
ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
PVคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะFSH
ส่องตรวจถุงน้ำคร่ำ
หลังถุงน้ำคร่ำแตก
มีเลือดออกทางช่องคลอด
การวินิจฉัยแยกโรค
1.สายสะดือย้อย Prolapse cord
2.รกเกาะต่ำ Placenta previa
การรักษา
การเจาะถุงน้ำคร่ำต้องนึกถึงภาวะรกเกาะต่ำและครรภ์แฝด
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตกให้ C/S
ถ้าวินิจฉัยได้ภายหลังถุงน้ำคร่ำแตกต้องยุติการตั้งครรภ์ทันที
9.Prolapse cord
ชนิดของสายสะดือย้อย
1.Forelying cord funic presentation
2.Overt prolapse cord
3.Occult prolapse cord
ปัจจัยส่งเสริม
ทารกท่าผิดปกติ ท่าก้น ท่าขวาง ท่าหน้า
CPD
ทารกไม่ครบกำหนด
การวินิจฉัย
PVการคลำพบสายสะดือ อาจได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
FHSผิดปกติ
การรักษา
จัดท่ามารดาไม่ให้ส่วนนำลงมากดสายสะดือโดยใช้หมอนรองก้นให้สูง
สอดมือเข้าช่องคลอดดันส่วนนำไม่ให้มากดสายสะดือ
ดูแลให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
C/Sดีที่สุดยกเว้นในรายที่ทารกตาย
10.Antepartum fetai distress
การวินิจฉัย
การเคลื่อนไหวหรือการดิ้นของทารก
การฟังเสียงหัวใจทารก
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ IUGR,DFIU
การปรากฏภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำ
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ Biophysical
การวัดอัตราการไหลเวียนของเลือดด้วยDoppler ultrasound
สาเหตุ
เกิดตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่ระยะคลอดจนกระทั้งมีภาวะเครียดจากการคลอด
Prolapse cord,Abruptio placenta
การป้องกัน
ให้นอนตะแคง
Oxytocin infusion pupmp ป้องกัน Hyperstimulation
การรั้กษา
ประเมินภาวะ Prolapse cord
หยุดให้Oxytocin ทันที
ออกซิเจน 8-9 LPM
Free flow IV fluid แก้ไข Hypotention
กระตุ้นหนังศีรษะทารก Fetal saclp stimulation
นางสาวศศิธร
งามปฐม 590157