Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะเสี่ยง (โรคปอดเรื้อรัง bronchopulmonary…
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะเสี่ยง
โรคปอดเรื้อรัง
bronchopulmonary dyspasia
cause
ความไม่สมบูรณ์ของปอด
พิษของ O2 ขึ่นอยู่กับความเข้มข้น ระยะเวลาที่ได้รับ ทำให้ celia ทำงานไม่ดี
บาดแผลจากแรงดัน ทำให้ปอดแข็งไม่ยิดหยุ่น
patho
เกิดจากการทำลายเนื้อเยื่อปอดจากความดัน+O2ที่มีความเข้มข้นสูง
diagnosis
ประวัติเจ็บป่วย
อาการและอาการแสดง
ภาพถ่ายรังสีปอดที่เข้าได้กับ BPD คือ ปอดแฟบ และ hyperinflation
treatment
1.ให้ O2 ที่มีความเข้มข้นต่ำ
ให้ยา
ยาขยายหลอดลม เพื่อเพิ่มความหยืดหยุ่นของปอด
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ เพื่อลดการอักเสบของปอด
ยาขับปัสสาวะ
ให้อาหารอย่างเพียงพอ 120-150 kcal/day
4.จำกัดน้ำ 120ml/kg/day เพื่อป้องกันภาวะน้ำเกิน
symptoms
จะปรากฏซ้อนไปในอาการของโรคปอดชนิดเฉียบพลันที่พบบ่อยคือ RDS ซึ่งทาทารกที่เป็น BPD ยังต่้องการ O2 อย่างต่อเนื่อง
การพยาบาล
1.ขณะให้ O2 ตรวจสอบความอิ่มตัวของO2ในหลอดลเือดแดงจาก pulse oximeter รักษา Spo2 91-95%
2.ทำกายภาพบำบัดทรวงอกเพื่อระบายเสมหะ
3.ประเมินการหายใจ
4.ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ
ภาวะกระดูกสันหลังโหว่
spina bigida
cause
ไดรับสารเคมี
ยาบางชนิด เช่น valproic acid ที่ใช้ผู้ป่วยชัก
มารดาได้รับอินซูลินจากการเป็นเบาหวาน
ขาด folic acid (B9)
โรคอ้วนของหญิงตั้งครรภ์
genetic
patho
spidabifida cystitis
meningocele
มีก้อนหรือถุง แต่ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทในถุง ไขสันหลังอยุ่ตำแหน่งปกติ ไม่มีผลต่อประสาท ไม่เกิดอัมพาต
myelomeningocele/egingomyelocele
มีก้อนยื่นผ่านกระดูกสันหลังออกมา มเยื้อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง และไขสันหลังอยู่ภายใน พบบ่อย** รุนแรง!!!
spidabifida occulta
เกิดจาก vertebral arches ไม่รวมตัวกัน
ทำให้ช่องโหว่ระหว่างกระดูกเกิดบริเวณ L5, S1 มีกระจุกขน ถุงน้ำ ก้อนเื้องอก
symptoms
spida bifida cystitis ชนิด myelomeningocele
แขนขาเป็นอัมพาต
มีปัญหาถ่ายปัสสาวะ
และอุจจาร
มีการคลั่งของปัสสาวะ
หายใจลำบาก กลืนลำบากและเสียชีวิตได้
diagnosis
พบก้อนบริเวณหลังตามแนวกระดูกสันหลัง
ตรวจครรภ์แม่ตั้งแต่ 16-18wk พบมีระดับ alpha fetoprotein (AFB) ผิดปกติในกระแสเลือด
ฉายไฟฉายส่องถุง
treatment
spida bifida occulta: ไม่จำเป้นต้องรักษา
spida bifida cystitis: การผ่าตัดปิดซ่อมแซมภายใน 24-48hr
การพยาบาล
1.ทำความสะอาดและปิดก้อนหรือถุงด้วยก็อชชุบ nss และเปลี่ยนทุก 2 hr
2.ทำความสะอาดวัยวะสืบพันธุ์หลังขับถ่ายทุกครั้ง
3.สังเกตอาการรั่วซึม รอยถลอกของถุง
4.บันทึกสัญญาณชีพทุก 4hr
5.สังเกตอาการและอาการแสดงของการิดเชื้อ