Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะเสี่ยง (ภาวะหยุดหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนด apnea…
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะเสี่ยง
ภาวะหยุดหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนด
apnea of prematurity: AOP
cause
การเกิดก่อนกำหนด
นนตัวน้อย
มีอายุครรภ์
patho
การหยุดหายใจนานกว่า 20 sec. หรือนานน้อยกว่า 20 sec แต่มีภาวะหัวใจเต้นช้า และมี cyanosis ร่วมด้วย
มีความไมสมบูรณ์ของระบบประสาทที่ควบคุมการหายใจ มีภาวะอื่นๆร่วมด้วย เช่น
อุณหภูมิร่างต่ำ
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดเชื้อ
symptoms
มีอาการในช่วง 2-7 วันแรก
diagnosis
ประวัติมารดามีถุงน้ำคร่ำแตกนานกว่า 24 hr
พบเขียวตามตัว O2 sat ในเลือดลดลง
อัตราเต้นหัวใจ 100/min
การพยาบาล
จัดท่านอนลดการใช้ O2 เช่น ท่านอนคว่ำ เข่าคู้ แขนขาชิดลำตัว ยกก้นสูงเล็กน้อย หรือนอนหงายคอไม่พับ ไม่แหงนหน้ามากเกินไป
ควบคุมอุณหภูมิกายทารก 36.8-37.2 C
จัดสวล ลดเสียง แสง
4.เฝ้าระวังอาการหยุดหายใจ
ช่วยเหลือเมื่อหยุดหายใจ เช่น ลูบบริเวณหลังหรือหน้าอกบาๆ หากยังหยุดอยู่ให้ดูดเสมหะและให้ O2
treatment
ลดแรงในการใช้หายใจ
โดยจัดท่า neutral position
ให้ O2 และยาในกลุ่ม methyxanthine เช่น caffeine หรือ theophylline
กลุ่มหายใจลำบาก RDS หรือ HMD
cause
ขาดสารลดแรงตึงผิวหรือ surfactant
การคลอดก่อนกำหนด
มารดาเป็นเบาหวาน
มารดามีเลือดออกก่อนคลอด
patho
ขาดสารลดแรงตึงผิว เมื่อหายใจเข้า ถุงลมจะพองตัวได้น้อยและหายใจออกจะแฟบ ทำให้ต้องใช้แรงเพิ่มขึ้น
symptoms
หายใจเร็ว > 60/min
หายใจลำบาก อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน
เสียงร้องครางขณะหายใจออก expiratory grunting
ฟังเสียงมีลมเข้าปอดน้อย
treatment
รักษาด้วยสารแรงตึงผิว
การให้ O2 ที่อุ่นและชื้น
ระมัดระวั O2 เป็นพิษ ที่มีความเข้มข้นสูงกว่า 60% เป้นเวลานาน
ป้องกัน O2 เป้นพิษต่อจอตาและปอด
รักษาประคับคอง
การช่วยหายใจด้วยการใช้เครื่องช่วยหายใจ
diagnosis
ภาพถ่ายรังสีปอก ระยแรกมีลมเข้าปอดน้อย พบกระบังลมด้านชวาอยู่สูงกว่าปกติ มีจุดขาวๆ อยู่ทั่วปอด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับ O2 อย่างเพียงพอ
จัดท่านอนให้ลำคอตรงไม่พับงอหรือเงยเกิดไป
ประเมินความรุนแรงของอาการหายใจลำบาก
ดูแลอุณหภูมิเด็ก
การติดเชื้อในแรกเกิด
neonatal sepsis
cause
ติดเชื้ออายุ <1 เดือน
70% ติดเชื้อ group B streptpcoccus, E.coli
ทารกที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
หัตถการจากสูติศาสตร์
การดูดเสมหะอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บทางเดินหายใจได้และก่อให้เกิดการติดเชื้อ
ถุงน้ำคร่ำแตกเป็นเวลานาน
ระยะแรก ภายใน 72hr
ระยะหลัง ภายหลัง 72 hr-28วัน
symptoms
ท้องอืด อาเจียน ท้องเสีย ตับม้ามโต
ตัวลาย mottling ซีด เขียว ผิวด่าง ตัวเย็น ความดันต่ำ
อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ตัวเขียว
กระสับกระส่าย ชัก tremor ไบ moro reflex ผิดปกติ
จุดเลือดออก เลือดไหลไม่หยุด
treatment
ให้ ABT ทันทีหลังทำ septic work up
NPO ดูด gastric content
ให้สารน้ำอิเล็กโทรฯ
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ให้ O2 รายที่จำเป็น
การพยาบาล
1.ประเมินปัจจัยเสี่ยง
2.ดูแลตามอาการ รักษาอุณหภูมิ เช็ดตัว ให้ O2
3.ดูแลให้ได้รับ ABT
4.ให้ ABT นานๆต้องประเมินภาวะแทรกซ้อน เชน ท้องเสีย ติดเชื้อรา
diagnosis
กลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย
อุณหภูมิส่วนกลางร่างกาย >38.5 / <36C
ความผิดปกติของอัตราการหายใจ
หายใจเร็วกว่าปกติ
WBC สูหรือต่ำกว่าปกติ
การตรวจ septic work up
การเพาะเชื้อ
ESR มักสูงขึ้น