Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในภาวะฉุกเฉิน (ไดรับสารพิษ (การพยาบาลเบื้องต้น…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ในภาวะฉุกเฉิน
ไดรับสารพิษ
สารพิษ (Poisons) หมายถึง สารใดๆ ที่สัมผัสหรือเข้าสู่ร่างกายแล้วทำให้เกิดอันตรายต่อของร่างกาย
กพยบทางเดินหายใจ
ทางเข้าของสารพิษ
1.ทางปาก
ทางเดินหายใจ
ทางผิวหนัง
การพยาบาลเบื้องต้น
มีสติ, ไม่เป็นกรด ด่าง รีบทำให้อาเจียน
หมดสติ, กรด ด่าง ห้ามทำให้อาเจียน
ทางผิวหนัง
ล้างด้วยน้ำสะอาด 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางอาจเกิดอันตรายมากขึ้น
บรรเทาอาการปวดและรักษาภาวะช็อค
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
1.เคลื่อนย้ายไปยังที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
2.คลายเสื้อให้หลวม เปิดทางเดินหายใจ ถ้าหยุดหายใจให้รีบช่วยเหลือ
3.รีบนำส่งโรงพยาบาล
การบาดเจ็บที่กระดูกและกล้ามเนื้อ
RICE
Rest
=พักส่วนที่ได้รับบาดเจ็บทันที
Ice
=ประคบเย็น ครั้งละ 15-20 นาที ภายใน 24-48 ชม แรก
Compression
=พันกระชับส่วนที่ได้รับบาดเจ็บด้วยผ้ายืด
Elevation
=ยกส่วนที่ได้รับบาดเจ็บให้สูงกว่าระดับหัวใจ
Protection
=ป้องกันการบาดเจ็บที่จะตามมา
Diagnosis
=ส่งพบแพทย์หรือสถานพยาบาล
ข้อระวัง
A (alcohol) การทายาที่มีฤทธิ์ร้อน
R (running) การวิ่งทำให้บาดเจ็บมากขึ้น
H (heat) การใช้ความร้อน ทำให้บวมปวดมากขึ้น
M (massage) การนวดจะทำให้บวมมากขึ้น
ข้อเคล็ด (sprain)
หยุดการเคลื่อนไหวข้อและให้พักในท่าที่สบาย
ประคบเย็นภายใน 24 ชม. หลังการบาดเจ็บ
พันด้วยผ้าม้วนยืด (Elastic bandage)
ยกอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บให้สูง เพื่อลดอาการปวด บวม
กระดูกหัก (Fracture)
1.Closed fracture
2.Open fracture
การดูแลกระดูกหัก
ถ้าต้องถอดเสื้อผ้า ต้องตัดตามตะเข็บ
ถ้าบวมและชามากให้จับชีพจรเปรียบเทียบกับแขนหรือขา
ระมัดระวังไม่ให้มีการเคลื่อนไหว
การตรวจบริเวณที่หัก ด้วยความระมัดระวัง
ถ้ามีห้ามเลือด เลี่ยงวิธีการห้ามเลือดแบบขันชะเนาะ
กระดูกหักแบบเปิดใช้ผ้าสะอาดคลุม แล้วพันไว้
เข้าเฝือกชั่วคราว
1.วัสดุที่ใช้ดามต้องยาวกว่าอวัยวะส่วนที่หัก
2.ไม่วางเฝือกลงบนบริเวณที่กระดูกหักโดยตรง
3.มัดเฝือกกับอวัยวะที่หักให้แน่นพอควร
4.บริเวณที่เข้าเฝือกจะต้องจัดให้อยู่ในท่าที่สุขสบายที่สุด เข้าเฝือกในท่าที่เป็นอยู่