Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน (สัตว์กัดต่อย (พิษ) (Hemotoxin (แมว -…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
สัตว์กัดต่อย (พิษ)
Hemotoxin
แมว --> ปะ --> เขียว
ทำให้มีเลือดออกตามที่ต่างๆ
ตามผิวหนัง เหงือก
อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด
Myotoxin
งูทะเล
ทำอันตรายต่อกล้ามเนื้อ ปวดกล้ามเนื้อมาก
ปัสสาวะสีดำเนื่องจากกล้ามเนื้อถูกทำลาย
Neurotoxin
จง --> เห่า --> สาม --> คลา
ได้รับพิษจะทำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อ
ลืมตาไม่ได้ กลืนลำบาก
หยุดหายใจเสียชีวิตได้
Cardiotoxin
งูเห่า
ออกฤทธิ์ต่อเซลล์แทบทุกชนิด
อาจทำให้เกิดเนื้อเน่าชื้นบริเวณแผลที่ถูกงูกัด
การดูแลผู้ที่ถูกงูพิษกัด
2.ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด/น้ำเกลือทันที ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด ทำเฝือกชั่วคราว
3.จัดให้อวัยวะที่ถูกกัดอยู่ต่ำกว่าระดับหัวใจ
1.หยุดการเคลื่อนไหวของร่างกาย
4.ส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ให้เร็วที่สุด
ผึ้ง ต่อ แตน
อาวุธที่ใช้ทำร้ายศัตรูก็คือ เหล็กใน ซึ่งอยู่ในเพศเมีย
การดูแล
1.มีเหล็กในติดอยู่ในแผล เอาเหล็กในออกก่อน
2.ล้างบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ประคบด้วยน้ำเย็น
4.มีอาการปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวด มีอาการมากขึ้นให้นำส่งโรงพยาบาล
แมงป่อง ตะขาบ
ปวด บวม และแดง
บางรายถ้าแพ้อาจมีไข้ ปวดศีรษะ และปวดแผลมาก
การดูแล
1.ล้าง ฟอกบริเวณแผลด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำสะอาด
2.ใช้แอมโมเนียหอมชุบปิดแผลไว้
3.ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวดพาราเซตามอล ประคบเย็น
4.ถ้ามีอาการแพ้ ควรพาไปพบแพทย์
แมงกะพรุนกล่อง
สัตว์มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก
มีพิษต่อหลายระบบในร่างกายทั้งเลือด เนื้อหนัง หัวใจ ประสาท
การดูแล
1.ให้ผู้บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ
ล้างบริเวณที่ถูกพิษด้วยน้ำส้มสายชูบ้าน อย่างน้อย 30 วินาที หากไม่มีให้ใช้น้ำทะเล
ใช้ถุงมือหนา /แหนบคีบหนวดที่ยังติดอยู่ ห้ามใช้มือหยิบ
ให้ใช้วัสดุขอบเรียบ ขูดเอาเมือกออก
ถ้าเป็นแมงกะพรุนกล่อง ใช้น้ำแข็งประคบลดอาการปวด หลังจากที่ล้างด้วยน้ำส้มสายชูแล้ว หรือใช้ผักบุ้งทะเลตำพอกที่แผล
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้น้ำจืดล้าง
ห้ามถูหรือขยี้
หลีกเลี่ยงการใช้เทคนิคพันรัดแน่นด้วยผ้ายืด
ได้รับสารพิษ
สารพิษ (Poisons)
หมายถึง
สารใดๆ ที่สัมผัส เข้าสู่ร่างกายแล้วสามารถทำให้เกิดอันตรายต่อของร่างกาย
ทางเข้าของสารพิษ
ทางเดินหายใจ
การพยาบาลเบื้องต้น
รีบนำส่งโรงพยาบาล
2.คลายเสื้อผ้าให้หลวม เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ถ้าหยุดหายใจให้รีบ CPR
1.ย้ายผู้ป่วยไปยังสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ่ายเทสะดวก ห้ามคนมุง
3.ทางผิวหนัง
2.อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
3.บรรเทาอาการปวด รักษาภาวะช็อค
1.ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที
4.ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
1.ทางปาก
การพยาบาลเบื้องต้น
มีสติ, ไม่เป็นกรด ด่าง
รีบทำให้อาเจียน
หมดสติ, กรด ด่าง
ห้ามทำให้อาเจียน
การบาดเจ็บที่กระดูกและกล้ามเนื้อ
การรักษาเบื้องต้น
ใช้หลัก 4 ย. คือ หยุด, เย็น, ยึด และยก หรือ “RICE”
Rest
Ice
Compression
Elevation
PRICED เพิ่ม Protection และ Diagnosis/Disposal
P=Protection การป้องกันการบาดเจ็บที่จะตามมาอีก
R=Rest การพัก
I=Ice การใช้ความเย็น
C=Compression การพันผ้ายืด (compression bandage)
E=Elevation การยก
D=Diagnosis/Disposal การวินิจฉัย/การจัดการ
ข้อระวัง
ใช้หลักการ (No HARM Factor)
H (heat) การใช้ความร้อนประคบ ทำให้บวมและปวดมากขึ้น
A (alcohol) การทายาที่มีฤทธิ์ร้อน
R (running/exercise) การวิ่งหรือทำกิจกรรม จะทำให้บาดเจ็บมากขึ้น
M (massage) การนวดจะยิ่งทำให้เลือดออกและบวมมากขึ้น
กรณีต่างๆ
ข้อเคล็ด (sprain)
การฉีกขาดของกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อต่อเนื่อง
การดูแล
1.หยุดการเคลื่อนไหวข้อที่บาดเจ็บ และให้พักในท่าที่สบายที่สุด
2.ประคบเย็นภายใน 24 ชม. หลังการบาดเจ็บ
4.ยกอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บให้สูง เพื่อลดอาการปวด บวม
3.พันด้วยผ้าม้วนยืด (Elastic bandage)
กระดูกหัก (Fracture)
แบ่งออก 2 ชนิด
Closed fracture
Open fracture
การดูแล
1.ระมัดระวังไม่ให้มีการเคลื่อนไหว
2.ถ้าต้องถอดเสื้อผ้า ต้องตัดตามตะเข็บ อย่าพยายามให้ผู้บาดเจ็บถอดเอง
3.ถ้าบวมและชามากให้จับชีพจรเปรียบเทียบกับแขนหรือขา
4.การตรวจบริเวณที่หัก
5.ถ้าต้องมีการห้ามเลือด หลีกเลี่ยงวิธีการห้ามเลือดแบบขันชะเนาะ
6.ในรายที่กระดูกหักแบบเปิดให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมทับ แล้วพันไว้
7.เข้าเฝือกชั่วคราว
มีภาวะเสียเลือด
อาการของภาวะเสียเลือด ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา-เร็ว หายใจเร็ว กระสับกระส่าย กระหายน้ำ ความดันโลหิตต่ำ --> ช็อก
closed wound
ประคบเย็นภายใน 24 ชม. แรก ต่อมาให้ประคบความร้อน
open wound
ทำความสะอาดแผล
ใช้ผ้าสะอาดกดลงบนแผลจนกว่าเลือดจะหยุดไหล
ถ้าผ้าปิดแผลชุ่มเลือด ไม่ควรเอาออก ให้ใช้ผ้าสะอาดผืนใหม่ปิดทับ
ไฟฟ้าดูด
อาการที่พบ ---> ไม่รู้สึกตัว หายใจลำบาก/หยุดหายใจ ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ/หยุดเต้น แผลไหม้
การดูแล
1.ห้ามจับตัวผู้ป่วยก่อนตัดกระแสไฟ
2.กำจัดสาเหตุ โดยใช้วัตถุที่เป็นฉนวนเขี่ยสายไฟออก หรือสับสะพานไฟลง
3.ตรวจชีพจรและการหายใจ
4.ตรวจดูแผลไหม้
เป็นลม (fainting)
การหมดความรู้สึกในช่วงสั้นๆ เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
การดูแล
1.นอนราบ ยกปลายเท้าสูง
2.คลายเสื้อผ้าให้หลวม หายใจเข้า-ออกลึกๆ
3.ให้ดื่มน้ำหวาน และหรือน้ำเกลือแร่
4.จัดสิ่งแวดล้อมให้มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (Burn)
การที่ผิวหนังถูกทำลายด้วยความร้อนที่อุณหภูมิที่สูงกว่า 45 องศาเซลเซียสขึ้นไป
การดูแล
1.ไม่ต้องระบายความร้อนออกจากแผล
2.ห้ามใส่ยาใดๆ ทั้งสิ้นลงในบาดแผล
3.ใช้ผ้าสะอาดปิดบริเวณบาดแผล
4.ให้ผู้ป่วยนอนราบ ยกขาสูง และรีบนำส่งโรงพยาบาล
ตะคริว (muscle cramp)
การหดเกร็งมัดกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการเจ็บปวด
สาเหตุ : ขาดน้ำ เกลือแร่ กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง
การรักษา : หยุดพักทันที ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที นวดด้วยน้ำมันร้อนเบาๆ
นางสาวสมจิตร อูปแก้ว เลขที่ 67 ห้อง A รหัสนักศึกษา 593020110684