Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน (แมลงสัตว์กัดต่อย (งูพิษ…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
แมลงสัตว์กัดต่อย
งูพิษ
พิษต่อระบบประสาท
งูจงอาง งูเห่า งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคลา
ทำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อ ลืมตาไม่ได้ กลืนลำบาก หยุดหายใจเสียชีวิตได้
พิษต่อโลหิต
งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม้
เลือดออกตามที่ต่างๆ ตามผิวหนัง เหงือก อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด
พิษต่อกล้ามเนื้อ
งูทะเล
ปวดกล้ามเนื้อมาก ปัสสาวะสีดำ เกิด myoglobinuria
การดูแลผู้ที่ถูกงูพิษกัด
หยุดการเคลื่อนไหวร่างกาย ปลอบโยน ให้กำลังใจ
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด/น้ำเกลือทันที ปิดแผล และเข้าเฝือก
จัดให้อวัยวะที่ถูกกัดอยู่ต่ำกว่าหัวใจ
รีบนำตัวส่ง รพ.
ผึ้ง ต่อ แตน
การดูแล
หากมีเหล็กในติดอยู่ ต้องเอกเหล็กในออกก่อน
ล้างบาดแผลด้วยน้ำสบู่และน้ำสะอาด
ประคบด้วยน้ำเย็น
ถ้ามีอาการปวดให้ยาแก้ปวด หากมีอาการมากนำตัวส่ง รพ.
แมงกะพรุนกล่อง
การดูแล
ให้ผู้ป่วยอยู่นิ่งๆ เพื่อลดการยิงพิษ
ล้างบริเวณที่ถูกพิษด้วยน้ำส้มสายชู นานอย่างน้อย 30 sec. หากไม่มีใช้น้ำทะเล
ใช้ถุงมือหรือแหนบคีบหนวดที่ติดอยู่ออก ห้ามใช้มือ
ใช้วัสดุขอบเรียบขูดเอาเมือกออก
ใช้น้ำแข็งประคบลดบวม
ห้ามใช้น้ำจืดล้าง ห้ามถูหรือขยี้ เลี่ยงการพันรัดแน่นด้วยผ้ายืด
แมงป่อง ตะขาบ
การดูแล
ล้างและฟอกแผลด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำสะอาด
ใช้แอมโมเนียหอมชุบปิดแผลไว้
ถ้าปวดให้ยาแก้ปวด ประคบแผลด้วยความเย็น
ถ้ามีไข้สูง ปวดแผลมาก ปวดศีรษะ รีบนำส่ง รพ.
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ชั้นผิวหนัง
อาการ
ปวดแสบ ร้อน แห้ง แดง ถ้าถึงหนังแท้จะพองเป็นตุ่มใส บวม
การดูแล
ระบายความร้อนออกจากแผล ไม่ควรใช้น้ำแข็งประคบโดยตรง
ทาด้วยยาทาแผลไหม้
ห้ามเจาะถุงน้ำหรือตัดส่วนที่พองออก
ปิดด้วยผ้าสะอาด แล้วพันไว้
ชั้นเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
อาการ
ลักษณะแผลมีสีน้ำตาลเทาหรือดำ ผิวหนังรอบๆจะซีด มีกลิ่นไหม้ มักไม่รู้สึกเจ็บปวด
การดูแล
ไม่ต้องระบายความร้อนออกจากแผล
ห้ามใส่ยาใดๆ ทั้งสิ้นลงในบาดแผล
ใช้ผ้าสะอาดปิดบริเวณบาดแผล
ให้ผู้ป่วยนอนราบ ยกขาสูง และรีบนำส่ง รพ.
ตะคริว
สาเหตุ
ขาดน้ำ เกลือแร่ กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง วิ่งหรือใช้งานมากเกินไป
การรักษา
หยุดพักทันที ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที นวดด้วยน้ำมันร้อนเบาๆ ห้ามบีบหรือขยำ
เป็นลม
การดูแล
นอนราบ ยกปลายเท้าสูง
คลายเสื้อผ้าให้หลวม หายใจเข้า-ออกลึกๆ
ให้ดื่มน้ำหวาน หรือน้ำเกลือแร่
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ความหมาย
การหมดความรู้สึกในช่วงสั้นๆ เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
ไฟฟ้าดูด
อาการที่พบ
ไม่รู้สึกตัว หายใจลำบาก/หยุดหายใจ ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ/หยุดเต้น แผลไหม้
การดูแล
ห้ามจับตัวผู้ป่วยก่อนตัดกระแสไฟ
กำจัดสาเหตุ โดยใช้วัตถุที่เป็นฉนวนเขี่ยสายไฟออก หรือสับสะพานไฟลง
ตรวจชีพจรและการหายใจ
ตรวจดูแผลไหม้
การเสียเลือด
อาการ
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา-เร็ว หายใจเร็ว กระสับกระส่าย กระหายน้ำ ความดันโลหิตต่ำ
การดูแล
บาดแผลปิด
ประคบเย็นภายใน 24 ชม. แรก ต่อมาให้ประคบร้อน
บาดแผลเปิด
ทำความสะอาดแผล
ใช้ผ้าสะอาดกดแผล ทำการห้ามเลือด
การบาดเจ็บที่กระดูก กล้ามเนื้อ
แนวทางการรักษาเบื้องต้น
PRICED : Protection Rest ICE Compression Elevation Diagnosis
RICE : Rest ICE Compression Elevation
No HARM Factor
ข้อเคล็ด
ความหมาย
การฉีกขาดของกล้ามเนื้อรอบๆข้อต่อ เนื่องจากการถูกดึง ยึด หรือบิดมากเกินไป
การดูแล
หยุดการเคลื่อนไหวข้อที่เจ็บ และพักในท่าที่สบายที่สุด
ประคบเย็ยภายใน 24 ชม. หลังการบาดเจ็บ
พันด้วยผ้าม้วนยืด
ยกอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บให้สูง เพื่อลดปวดลดบวม
การดูแลกระดูกหัก
ระวังไม่ให้มีการเคลื่อนไหวบริเวณที่มีข้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก
ถ้าต้องถอดเสื้อผ้า ต้องตัดออก อย่าให้ผู้ป่วยถอดเอง
ถ้าบวมหรือชามาก ให้จับชีพจรเทียบกับแขนหรือขาอีกข้างเปรียบเทียบกัน
ตรวจดูด้วยความระมัดระัง
หากต้องห้ามเลือด เลี่ยงการห้มเลือดแบบขันชะเนาะ
ในรายที่กระดูกหักแบบเปิดให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมทับ แฃ้วพันไว้
เข้าเฝือกชั่วคราว
ได้รับสารพิษ
ทางปาก
มีสติ
ซักประวัติ รีบให้ดื่มนมหรือน้ำเปล่า เพื่อใด้เจือจาง และรีบให้อาเจียนออก กรณีไ่ได้กินกรด ด่าง น้ำมันก๊าด เบนซิน ทินเนอร์ หรือที่มีฤทธิ์กัดกร่อน
หมดสติ
ห้ามทำให้อาเจียน
ทางเดินหายใจ
เคลื่อนย้ายไปยังสถานที่อากาศบริสุทธิ์
คลายเสื้อผ้าให้หลวม เปิดทางเดินหายใจให้ล่วง และรีบนำส่ง รพ.
ทางผิวหนัง
ล้างด้วยน้ำสะอาดอย่างน้อย 15 นาที
ห้ามใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาภาวะช็อค
ปิดแผล นำส่ง รพ.