Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงตามวัยในผู้สูงอายุ (การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย (ระบบผิวหนัง…
การเปลี่ยนแปลงตามวัยในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการสูงอายุ
ภายนอก
การศึกษา
การปลดเกษียณ
ภาวะเศรษฐกิจ
เป็นหม้าย
ภายใน
สุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
ประสบการณ์
ความเชื่อ
วัฒนธรรม
ระบบผิวหนัง
ไขมันใต้ผิว⬇️
แพ้สารเคมีได้ง่าย
เมลาโนไซต์⬇️ ทำให้
เป็นกระ
เมลานิน⬇️ ขนต่างๆ
เริ่มหงอก
ต่อมเหงื่อ⬇️
เล็บบาง เหลือง
เหี่ยวย่น
ระบบทางเดินหายใจ
cilia⬇️
หลอดลมขยาย⬇️ สำลักง่าย
อกเป็นถังเบียร์
ปอดยืดหยุ่น⬇️
ฝาปิดกล่องเสียงมี
แคลเซียมเกาะ
ถุงลมเท่าเดิม แต่บาง
และใหญ่ขึ้น
ระบบหัวใจและ
หลอดเลือด
หลอดเลือดแดงแข็ง เกิดความดันโลหิต ⬆️
(isolated systolic hypertension)
ไลโปฟัสซินเกาะที่หัวใจ
ลิ้นหัวใจหนาแข็ง
PR QRS & QT interval ⬆️ QRS complex ⬇️
เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
ระบบทางเดินอาหาร
ฟันเปราะ แตกง่าย
ต่อมน้ำลาย⬇️
ลำไส้เคลื่อนไหว⬇️
ตับมีขนาด⬇️
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
มีไขมัน พังผืดเข้ามาแทน
reflex ยังดีอยู่
หลังค่อม
ข้อเสื่อม
ระบบประสาท
ขนาดสอง⬇️
ปริมาตรเนื้อสมอง⬇️
เซลล์ประสาท⬇️
เย้นใยประสาท⬇️
สารสื่อประสาท⬇️
นอนหลับยาก
ตื่นง่าย
ระบบประสาทสัมผัส
มองเห็นสีแดง ส้ม เหลือง
ลูกตา⬇️ รู่ม่านตา⬇️
ได้ยินเสียงทุ้ม
ผลิดตขี้หู⬇️ แต่สะสมในช่องหูมาก
รับรสได้แค่เค็มและขม
ปลายประสาทไม่ดี
ระบบสืบพันธุ์&ทางเดินปัสสาวะ
ไตมีขนาด⬇️
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะบีบตัว⬇️
ท่อทางเดินปัสสาวะหูรูดอ่อน
เต้านมเหี่ยวย่น
ผญ: H.estrogen⬇️
ผช: H.Progesterone⬇️
ระบบต่อมไร้ท่อ
ตับอ่อนหลั่งอินซูลิน⬇️
พิทูอิทารีหลัง growth H. ⬇️
ต่อมหมวกไตส่วนนอก
มีพังผืด
ระบบภูมิคุ้มกัน
ต่อมไทมัสมมีขนาด⬇️
T-lymphocyte⬇️
antibody⬇️
ติดเชื้อง่าย ป่วยง่าย
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ตามพัฒนาการจิต
จิตใจ
อยู่ในขั้นที่ 8 บูรณาการและสิ้นหวัง
บุคลิกภาพ
แบบต่อต้าน
holding on
เกลียดความชรา ยึดติดกับบุคลิกวัยกลางคน
constricted
เกลียดความชราทชอบจำกัดบทบาทและพฤติกรรมของตนเอง
แบบผสมผสาน
reorganizer
ชอบหากิจกรรมใหม่ๆทำ
focused
ทำแค่ที่กิจกรรมที่ชอบ
disengaged
ถดถอยออกจากสังคม
เฉยชาและพึ่งพาผู้อื่น
succorance seeking
ต้องการการตอบสนองทางอารมณ์
apathic or rocking chair
มึนซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม มีกิจกรรมน้อย
ขาดการผสมผสาน
ความจำ
จำได้แต่เรื่องในอดีต ชอบเล่าเรื่องในอดีต
การเรียนรู้
เรียนรู้เรื่องใหม่ๆได้ แต่ต้องสัมพันธ์กับประสบการณ์ที่ผ่านมาในชีวิต
ช่วงความสนใจ
ไม่เกิน 45 นาที
สติปัญญา
สามารถคิดคำนวนได้ แต่ความคิดสร้างสรรค์จะเสื่อมเร็ว
ด้านสังคม
การเปลี่ยนแปลงบทบาท
การเปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรม
ผู้สูงอายุยังยึดถือวัฒนธรรมดั้งเดิม ทำให้ต่อต้านความคิดใหม่ๆ เกิดช่องว่างระหว่างวัยกับบุตรหลาน
การปลดเกษียณ
รู้สึกสูญเสียสถานภาพและบทบาท
สูญเสียเพื่อนฝูง เกิความรู้สึกเหงา ว้าเหว่
สูญเสียภาวะทางการเงิน
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
และสังคม
มีรายได้⬇️
บุตรหลานมีทัศนคติไม่ต้องพึ่งพาการถ่ายทอดอาชีพและประสบการณ์ ทำให้ผู้สุงอายุมีคุณค่าลดลง
แยกตัวจากสังคม
การเปลี่ยนแปลงของสังคมครอบครัว
กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น แยกครอบครัว ทำให้ผู้สุงอายุต้องอาศัยอยู่ตามลำพัง
การสนับสนุนทางสังคม
การปรับผ่านของชีวิต
ด้านจิตวิญญาณ
จะแสดงออกมากเมื่อต้องพบเจอกับภาวะวิกฤต เช่น การเจ็บป่วย การสูญเสีย หากล้มเหลวผู้สูงอายุจะมีความผิดหวัง บางคนถึงวาระสุดท้ายด้วยความขมขื่น
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจิตสังคม
attitudes, interests, values
ความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม เชื้อชาติ เพศ หรืออื่นๆ เมื่อจะสอนเรื่องราวใหม่ๆจำเป้นต้องเปลี่ยนเจคติ การให้คุณค่า เป้นเรื่องที่ยาก หากทำได้จะเรียนรู้สิ่งใหม่ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ
self-concept, self esteem
ถ้าอยู่ในด้านบวกจะส่งผลให้ผู้สูงอายุปรับตัวได้ดี แก้ไขปัญหาต่างๆได้
self-efficacy
การที่ผู้สูงอายุให้ความหมายหรือตัดสินความสามารถของตนเอง
Kanyaluck Nakprommin 6031901009