Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในภาวะฉุกเฉิน (ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (Burn) (การดูแล…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ในภาวะฉุกเฉิน
ตะคริว (muscle cramp)
การหดเกร็งมัดกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการเจ็บปวด
สาเหตุ : ขาดน้ำ เกลือแร่ กล้ามเนื้อไม่แข็งแรงวิ่งหรือใช้งานมากเกินไป
การรักษา : หยุดพักทันที ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที นวดด้วยน้ำมันร้อนเบาๆ ห้ามบีบหรือขยำ
ไฟฟ้าดูด
อาการที่พบ ---> ไม่รู้สึกตัว หายใจลำบาก/หยุดหายใจ ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ/หยุดเต้น แผลไหม้
การดูแล
กำจัดสาเหตุ โดยใช้วัตถุที่เป็นฉนวนเขี่ยสายไฟออก หรือสับสะพานไฟลง
ตรวจชีพจรและการหายใจ
ตรวจดูแผลไหม้
ห้ามจับตัวผู้ป่วยก่อนตัดกระแสไฟ
เป็นลม (fainting)
การหมดความรู้สึกในช่วงสั้นๆ เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
การดูแล
นอนราบ ยกปลายเท้าสูง
คลายเสื้อผ้าให้หลวม หายใจเข้า-ออกลึกๆ
ให้ดื่มน้ำหวาน และหรือน้ำเกลือแร่
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (Burn)
ผิวหนังถูกทำลายด้วยความร้อนที่
อุณหภูมิที่สูงกว่า 45 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ชั้นผิวหนัง ---> ปวดแสบ ร้อน แห้ง แดง
ถ้าถึงหนังแท้จะพองเป็นตุ่มน้ำใส บวม
การดูแล
ระบายความร้อนออกจากแผล ไม่ควรใช้น้ำแข็งประคบโดยตรง
ทาด้วยยาทาแผลไหม้
ห้ามเจาะถุงน้ำหรือตัดส่วนที่พองออก
ปิดด้วยผ้าสะอาด แล้วพันไว้
ชั้นเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ---> ลักษณะแผลมีสีน้ำตาลเทาหรือดำ ผิวหนังรอบๆ จะซีดมีกลิ่นไหม้ มักไม่รู้สึกเจ็บปวด
การดูแล
ไม่ต้องระบายความร้อนออกจากแผล
ห้ามใส่ยาใดๆ ทั้งสิ้นลงในบาดแผล
ใช้ผ้าสะอาดปิดบริเวณบาดแผล
ให้ผู้ป่วยนอนราบ ยกขาสูง และรีบนำส่งโรงพยาบาล
มีภาวะเสียเลือด
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา-เร็ว หายใจเร็ว กระสับกระส่าย กระหายน้ำ ความดันโลหิตต่ำ --> ช็อก
การดูแล
บาดแผลปิด (closed wound)
ประคบเย็นภายใน 24 ชม. แรก ต่อมาให้ประคบความร้อน
บาดแผลเปิด (open wound)
ทำความสะอาดแผล
ใช้ผ้าสะอาดกดลงบนแผลจนกว่าเลือดจะหยุดไหล
ถ้าผ้าปิดแผลชุ่มเลือด ไม่ควรเอาออก ให้ใช้ผ้าสะอาดผืนใหม่ปิดทับ
ควรสังเกตภาวะช็อกของบาดแผลทั้ง 2 ประเภท
แผลถูกแทงวัตถุปักคา
หากเป็นวัตถุขนาดใหญ่ ห้ามดึงออก
ใช้ผ้าสะอาดกดรอบๆ พันยึดให้แน่นพอควร
แผลถูกยิง
อวัยวะภายในได้รับบาดเจ็บหรือไม่ สังเกตการหายใจ การเสียเลือด
แผลหน้าท้องไส้ทะลัก
ผ้าสะอาดพันรอบแน่นพอควร
ถ้าช็อกยกปลายเท้าให้สูง ให้ห่มผ้า
ใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำหมาดๆ วางบนลำไส้ (ห้ามพยายามยัดลำไส้กลับ)
นางสาววิลัยวรรณ ทิพม่อม เลขที่ 50
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 ห้อง B