Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book: E Book) (ความแตกต่างของหนังสืออิเ…
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Book: E Book)
ความหมาย
หนังสือที่บรรจุด้วยเนื้อหาที่เป็นสื่อประสม
ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ที่อ่านและดูบนเครื่องคอมพิวเตอร์
เชื่อมโยงเอกสารสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆผ่านระบบออนไลน์
ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป
หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ
หนังสืออิเล็กทรนิกส์ไม่ใช้กระดาษ
หนังสือทั่วไปมีข้อความภาพประกอบธรรมดา
หนังสืออิเล็กส์ทรอนิกส์ใช้ภาพเคลื่อนไหวได้
หนังสือทั่วไปไม่มีเสียง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ใส่เสียงได้
หนังสือทั่วไปแก้ไขได้ยาก
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แก้ไข อัปเดตข้อมูลง่าย
หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เชื่อมโยงข้อมูลได้
หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตสูง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนต่ำ
หนังสือทั่วไปมีขีดจำกัดในการพิมพ์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจำกัด
หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เปิดอ่านด้วยโปรแกรม
หนังสือทั้วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์อ่านแล้วสั่งพิมพ์ได้
หนังสือทั่วไปอ่าน1คนต่อ 1เล่ม
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1เล่ม อ่านได้หลายคน
หนังสือทั่วไปพกพาลำบาก
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพาสะดวก
หนังสืออิเล็กทรนิกส์กับสิ่งแวดล้อม
โครงสร้างของหนังสือ
หน้าปก
คำนำ
สารบัญ
สาระของหนังสือแต่ละหน้า
อ้างอิง
ดัชนี
ปกหลัง
องค์ประกอบ
อักขระ
การใช้อักขระ
ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว
เสียง
ภาพวีดีทัศน์
รูปแบบของหนังสือ
รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบ่งตามลักษณะการเข้าถึงข้อมูล
รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบ่งตามช่องทางการสื่อสาร
รูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบ่งตามหน้าที่
รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบ่งตามชนิดของข้อมูลข่าวสารและเครื่องอำนวยความสะดวก
หลักการออกแบบหนังสือ
โครงสร้างชัดเจน
การใช้งานที่ง่าย
การเชื่อมโยงที่ดี
ความเหมาะสมในหน้าจอ
องค์ประกอบการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
องค์ประกอบด้านระบบมัลติมีเดีย
องค์ประกอบด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบคอมพิวเตอร์
ข้อดี
ผู้เรียนย้อนกลับมาทบทวนใหม่ได้หากไม่เข้าใจ
การตอบสนองที่รวดเร็วของคอมพิวเตอร์ทั้งสีสัน ภาพ เสียง
ผู้เรียนสามารถบูรณาการการเรียนการสอนวิชาต่างเข้าด้วยกันได้
ช่วยพัฒนาทางวิชาการ
ครูมีเวลาติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียนได้
ข้อจำกัด
คนไทยส่วนใหญ่ยังคุ้นชินกับสื่อสิ่งพิมพ์
โปรแกรมมีไฟล์ขนาดใหญ่เปลี่ยนหน้าจอได้ช้า
ผหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผู้สร้างต้องมีความชำนาญ
ใช้เวลาในการออกแบบนาน