Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในภาวะฉุกเฉิน (ได้รับสารพิษ (สารพิษเข้าทางปาก…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ในภาวะฉุกเฉิน
ได้รับสารพิษ
สารพิษเข้าทางปาก
มีสติ, ไม่เป็นกรด ด่าง : รีบทำให้อาเจียน
มีสติ, ไม่เป็นกรด ด่าง: ห้ามทำให้อาเจียน
สารพิษเข้าทางเดินหายใจ
การพยาบาลเบื้องต้น
คลายเสื้อผ้าให้หลวม เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ถ้าหยุดหายใจให้รีบช่วยเหลือ
รีบนำส่งโรงพยาบาล
เคลื่อนย้ายผู้ที่ได้รับสารพิษไปยังสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ่ายเทสะดวกและห้ามคนมุง
สารพิษเข้าทางผิวหนัง
การพยาบาลเบื้องต้น
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี เพราะความร้อนที่เกิดจาก
ปฏิกิริยาอาจทำให้เกิดอันตรายมากขึ้น
บรรเทาอาการปวดและรักษาภาวะช็อค
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
การบาดเจ็บที่กระดูก
และกล้ามเนื้อ
แนวทางในการรักษาเบื้องต้น
ภายใน 24-48 ชม. ใช้หลัก
P=Protection
การป้องกันการบาดเจ็บที่จะตามมาอีก
โดยให้หยุดการเล่นกีฬาทันที นำนักกีฬาออกจากสถานที่ที่ได้รับบาดเจ็บ
เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บที่จะตามมาอีก
R=Rest
การพัก โดยพักส่วนที่ได้รับบาดเจ็บทันที
เพราะการเคลื่อนไหวส่วนที่บาดเจ็บจะทำให้เลือดออกมากขึ้น
I=Ice
การใช้ความเย็น ประคบเย็นบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
เพื่อลดอาการบวม การเจ็บปวด กล้ามเนื้อเกร็งตัวและการอักเสบ
ใช้เวลาในการประคบครั้งละ 15-20 นาที
วันละ 3-4 ครั้ง ใช้ภายใน 24-48 ชม.แรก
C=Compression
การพันผ้ายืด (compression bandage)
พันกระชับส่วนที่ได้รับบาดเจ็บด้วยผ้ายืดหรือ
ใช้ผ้าสำลีผืนใหญ่รองไว้หนาๆ โดยรอบก่อน
เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดออกมาก
ลดบวมและเป็นการประคองส่วนที่ได้รับบาดเจ็บด้วย
E=Elevation
การยก ยกส่วนที่ได้รับบาดเจ็บนั้นให้สูงกว่าระดับหัวใจ
เพื่อให้เลือดไหลเวียนกลับได้สะดวก ลดเลือดออก
ลดบวม และลดอาการเจ็บปวด
D=Diagnosis
/Disposal
การวินิจฉัย/การจัดการ
ส่งพบแพทย์หรือสถานพยาบาล
เพื่อให้การรักษาพยาบาลที่ถูกต้องต่อไป
หลักการพันผ้ายืดที่ถูกต้อง
การพันต้องหงายผ้าพันขึ้นเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้ผ้าหล่นจากมือ
ควรใช้ส่วนที่เจ็บเป็นจุดกึ่งกลางและแบ่งพื้นที่ที่จะพันออกไปแต่ละข้าง
ผ้าที่พันต้องอยู่ในลักษณะเป็นม้วน แน่นและสะอาด
เพื่อให้มีน้ำหนักในการพันทุกครั้ง
การพันให้เริ่มจากส่วนปลายของอวัยวะไปยังส่วนโคน
เพื่อรีดเลือดที่คั่งกลับสู่หัวใจ เป็นการลดบวม
การพันที่ทำให้เกิดประสิทธิภาพ ควรพันแบบเลข 8
หรือแบบไขว้ อวัยวะถูกยึดแน่น
ข้อระวังในช่วงแรกของการบาดเจ็บ (24-48 ชม.แรก) ใช้หลักการ (No HARM Factor)
A (alcohol) การทายาที่มีฤทธิ์ร้อน
R (running/exercise) การวิ่งหรือทำกิจกรรม จะทำให้บาดเจ็บมากขึ้น
H (heat) การใช้ความร้อนประคบ ทำให้บวมและปวดมากขึ้น
M (massage) การนวดจะยิ่งทำให้เลือดออกและบวมมากขึ้น
ข้อเคล็ด (sprain)
การฉีกขาดของกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อต่อเนื่องจากการถูกดึง
ยึด หรือบิดมากเกินไป
การดูแล
ประคบเย็นภายใน 24 ชม. หลังการบาดเจ็บ
พันด้วยผ้าม้วนยืด (Elastic bandage)
หยุดการเคลื่อนไหวข้อที่บาดเจ็บ และให้พักในท่าที่สบายที่สุด
ยกอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บให้สูง เพื่อลดอาการปวด บวม
กระดูกหัก (Fracture)
แบ่งออก 2 ชนิด
กระดูกหักชนิดไม่มีบาดแผลหรือชนิดปิด (Closed fracture)
กระดูกหักชนิดมีบาดแผลหรือชนิดเปิด (Open fracture)
การดูแลกระดูกหัก
ถ้าต้องถอดเสื้อผ้า ต้องตัดตามตะเข็บ อย่าพยายามให้ผู้บาดเจ็บถอดเอง
ถ้าบวมและชามากให้จับชีพจรเปรียบเทียบกับแขนหรือขา ทั้ง 2 ข้างเปรียบกัน
ระมัดระวังไม่ให้มีการเคลื่อนไหวบริเวณที่มีข้อเคลื่อน หรือกระดูกหัก
การตรวจบริเวณที่หัก ต้องทำด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทำให้ปลายกระดูก
ที่หักเคลื่อนมาเกยกัน
ถ้าต้องมีการห้ามเลือด หลีกเลี่ยงวิธีการห้ามเลือดแบบขันชะเนาะ
ในรายที่กระดูกหักแบบเปิดให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมทับ แล้วพันไว้
เข้าเฝือกชั่วคราว
นางสาววิลัยวรรณ ทิพม่อม เลขที่ 50
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 ห้อง B