Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีผู้ป่วยก่อนได้รับการ Setting Limits ด้วยวิธีการผูกมัด…
กรณีผู้ป่วยก่อนได้รับการ Setting Limits ด้วยวิธีการผูกมัด
การจำกัดพฤติกรรม
การจำกัดสิทธิและเป็นวิธีการหนึ่งที่จำเป็นสำหรับควบคุมพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยซึ่งถือว่าเป็นภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช
มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ตัวผู้ป่วย ผู้อื่นไม่ให้ได้รับอันตรายและป้องกันสิ่งแวดล้อม ไม่ให้เกิดความเสียหาย และช่วยให้การรักษาสามารถดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลในการจำกัดพฤติกรรม
ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมรุนแรง
1) ประเมินพฤติกรรมรุนแรง
2) การบอกเหตุผลในการจำกัดพฤติกรรม
3) การให้การพยาบาลในการจำกัดพฤติกรรม
4) การให้การพยาบาลหลังจากจำกัดพฤติกรรมโดยการปฏิบัติตามมาตรฐานการ พยาบาลและตามกระบวนการพยาบาล
แนวทางในการจำกัดพฤติกรรม
การผูกยึด
เป็นกระบวนการแยกผู้ป่วยออกจากผู้ป่วยอื่นให้อยู่ในที่ปลอดภัย
โดยการใช้อุปกรณ์ วัสดุเครื่องมือ ผูกติด การผูกยึดที่นิยมมาก และปลอดภัยต่อผู้ป่วย
การผูกยึดแบบสี่จุด (four point restrains)
การใช้ห้องจำกัดพฤติกรรม (seclusion)
เป็นกระบวนการแยกผู้ป่วยออกจากผู้ป่วย อื่นให้อยู่ในที่ปลอดภัย
ให้อยู่ในห้องเดี่ยวป้องกันการหลบหนี
การพยาบาลแบบองค์รวม
ด้านกาย
ประเมินพฤติกรรมรุนแรงและประเมินร่างกาย
ตรวจสอบการไหลเวียนของโลหิตบริเวณที่มัด แผล รอยถลอก
วัดสัญญาณชีพ 15 นาทีแรก บันทึกการผูกมัดอาการและสัญญาณชีพ
ตรวจเยี่ยมทุก 15 นาที (เข้าเยี่ยมหรือเยี่ยมในจุดสังเกตการณ์) คลายมัดทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลความสุขสบาย
ด้านจิตใจ
การบอกเหตุผลในการจำกัดพฤติกรรม
ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่จำเป็นสำหรับควบคุมพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยซึ่งถือว่าเป็นภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช
มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ตัวผู้ป่วย ผู้อื่นไม่ให้ได้รับอันตรายและป้องกันสิ่งแวดล้อม
ด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ให้การต้อนรับผู้ป่วยทุกรายด้วยอัธยาศัยอันดี ตรวจเยี่ยมที่เตียงผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
ให้คําแนะนําการปฏิบัติตนแก่ผู้ป่วยทุกราย อย่างต่อเนื่อง ต้องไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ป่วยและ ต้องปฏิบัติต่อผู้ป่วยด้วยความสุภาพอ่อนโยนปราศจากอคติ
พยาบาลต้องเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามและให้ข้อมูลด้านการรักษาแก่ผู้ป่วยและญาติใน ขอบเขตของวิชาชีพพยาบาลอย่างชัดเจนและ เพียงพอ
ต้องให้โอกาสผู้ป่วยแสดง ความคิดเห็นและตัดสินใจในการรักษา
พยาบาลต้องอธิบายให้ผู้ป่วยทราบข้อมูลเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลด้วยภาษาท่าทีที่เข้าใจง่าย
ประสานงาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและอํานวยความสะดวก ให้กับผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยร้องขอข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา
รักษาความลับเกี่ยวกับ ข้อมูลการเจ็บป่วยของผู้ป่วย ไม่นำมาเปิดเผยในที่สาธารณะ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจาก
ผู้ป่วยหรือเมื่อเจ้าพนักงานต้องปฏิบัติตามหน้าที่
พยาบาลต้องชี้แจงให้ผู้ป่วยทราบว่า ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมการวิจัย/ ทดลอง โดยยืนยันว่าจะไม่มีผลใด ๆ ต่อคุณภาพการรักษาพยาบาลและการดูแลที่จะได้รับ
พยาบาลควรให้ข้อมูลและประสานให้ ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล