Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book : E Book)…
บทที่ 5 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Book : E Book)
ความแตกต่าง
ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
กับหนังสือทั่วไป
หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ
-อิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ
หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบ
-อิเล็กทรอนิกส์มีภาพเคลื่อนไหว
หนังสือทั่วไปแก้ไขปรับปรุงไม่ได้
-อิเล็กทรอนิกส์ปรับปรุงได้
หนังสือมีขีดจำกัด
-อิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจำกัด
หนังสือทั่วไปเปิดอ่านเล่ม
อิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรม
องค์ประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
อักขระ
การใช้อักขระ
สื่อความหมายให้ชัดเจน
เชื่อมโยงอักขระบนจอภาพ
ความยาวเนื้อหาให้เหมาะสมแก่การอ่าน
การเคลื่อนไหวให้อักขระ
เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ภาพนิ่ง
ไฟล์สกุล GIF
ไฟล์สกุล JPEG
ไฟล์สกุล PNG
ภาพเคลื่อนไหว
เสียง
ภาพวีดิทัศน์
โครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หน้าปก
คำนำ
สารบัญ
สาระของหนังสือแต่ละหน้า
หน้าหนังสือ
ข้อความ
ภาพประกอบ
เสียง
ภาพเคลื่อนไหว
จุดเชื่อมโยง
อ้างอิง
ดังชนี
ปกหลัง
รูปแบบของหนังสืออิเล้กทรอนิกส์
แบ่งตามลักษณะการเข้าถึงข้อมูล
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์อ้างอิง
หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แบ่งตามช่องทางการสือสาร
สื่อสารทางเดียว
ใช้ตาดูอย่างเดียว
ใช้หูฟังอย่างเดียว
สื่อสารหลายทาง
ใช้ตามดู หูฟัง มือสัมผัส
แบ่งตามหน้าที่
แบ่งตามชนิดของข้อมูลข่าวสารและเครื่องอำนวยความสะดวก
หลักการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
โครงสร้างที่ชัดเจน
การใช้งานที่ง่ายลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การเชื่อมโยงที่ดี
ความเหมาะสมในหน้าจอ
องค์ประกอบการผลิตสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสาร
องค์ประกอบด้านระบบมัลติมีเดีย
ระบบอุปกรณ์อินพุต
ระบบประมวลผล
อุปกรณ์เอาท์พุต
ระบบการสร้าง
เนื้อหา
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรเนื้อหา
ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอน
ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรม
ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ผู้เรียนสามารถย้อนกลับเพื่อทบทวน
ตอบสนองรวดเร็ว
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เลือกเรียนหัวข้อที่สนใจ
แสดงภาพนิ่ง ข้อความ เสียงได้พร้อมกัน
ข้อจำกัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ไม่เคยชินอยู่กับสื่อสิ่งพิมพ์มากว่า
สื่อมีขนาดของไฟล์ใหญ่มาก
ผู้ใช้สื่ออาจไม่ใช่ผู้สร้างสื่อ
การออกแบบใช้เวลามาก