Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล (เกิดแผลกดทับบริเวณก้นกบ (Coccyx)เนื่องจากกล้ามเนื้อส…
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เกิดแผลกดทับบริเวณก้นกบ (Coccyx)เนื่องจากกล้ามเนื้อสะโพกและขาอ่อนแรงทั้ง ๒ ข้าง
วัตถุประสงค์
-เพื่อดูแลรักษาแผลกด ทับให้มีขนาดลดลง
-ญาติและผู้ป่วยรู้วิธีการดูแลและป้องกัน การเกิดแผลกดทับได้
เกณฑ์การประเมินผล
ผิวหนังเรียบตึง ไม่มี รอยแดง ไม่เกิดการฉีก ขาดของผิวหนังหรือแผล ถลอกเพิ่มขึ้น
แผลกดทับมีขนาด ลดลง หายเร็ว และไม่ เกิดแผลกดทับใหม่
กิจกรรมการพยาบาล นาทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล (Nightingale’s EnvironmentalTheory ) มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมทางการพยาบาลดังนี้
๑. อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเรื่องแผลกดทับสาเหตุและการป้องกัน
๒. การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ
๒.๑ การดูแลผิวหนังให้ผิวหนังมีความชุ่มชื้นโดยใช้น้ำมันมะกอกหรือโลชั่นทาผิวเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับบริเวณอื่นๆเช่นบริเวณปุ่มกระดูกที่รองรับน้าหนัก
๒.๒ การจัดท่านั่งและท่านอน
ใช้เบาะรองนั่งเพื่อช่วยลดแรงกดทับปุ่มกระดูกเชิงกรานขณะนั่งโดยไม่ควรใช้ห่วงยางรองนั่ง เพราะแม้ว่าแผลกดทับจะลอยไม่สัมผัสกับเบาะแต่บริเวณผิวที่สัมผัสกับห่วงยางจะเกิดแรงกดสูงกว่าบริเวณอื่นทำให้ปิดกั้นการไหลเวียนเลือดสู่ก้น
ข้อมสนับสนุน
ผู้ป่วยเป็นอัมพาต ของร่างกายส่วนล่าง (Paraplegia) ได้รับการบาดเจ็บของ เส้นประสาทบริเวณส่วนอก (Thoracic) คู่ที่ T๑๑ T๑๒
ขนาดของแผลกดทับ กว้าง ๓ เซนติเมตร ยาว ๔ เซนติเมตร ลึก๒ เซนติเมตร
ลักษณะทางกายภาพ ของแผล คือ ชุ่มฉ่า
มีภาวะแผลหายช้าเนื่องจากสูบบุหรี่
วัตถุประสงค์
-เพื่อดูแลและบรรเทาให้แผลหายเร็วขึ้น
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยสูบบุหรี่วันละ2ซองและติดเหล้า
กิจกรรมการพยาบาล นาทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน (Watson’s caring Theory ) มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมทางการพยาบาลดังนี้
๑.บอกถึงข้อเสียของการสูบบุหรี่ที่มีผลต่อการหายของแผล
๒.ดูแลความสะอาดของแผลกดทับ
๓.ดูแลไม่ให้ผู้ป่วยสูบบุหรี่
เกณฑ์การประเมินผล
-ผู้ป่วยมีอาการหอบเนื้อพูดเสียงเบา
-ผู้ป่วยมีแผลที่หายช้า
ความภาคภูมิใจในตนเองลดลงเนื่องจากต้องพึ่งพาผู้อื่น
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีค่ามากขึ้นเป็นที่รักของคนในสังคม
เกณฑ์การประเมินผล
-สีหน้าเครียดน้อยลงแววตาสดใสมากขึ้น
-สามารถบอกวิธีปฏิบัติตัวได้ถูกต้องทั้งขณะอยู่ในโรงพยาบาลและออกจากโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล นาทฤษฎีการปรับตัวของ รอย (Sister Callista Roy’s Adaptation Theory) มาประยุกต์ใช้ ในกิจกรรมทางการ พยาบาลดังนี้
๑.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความคับข้องใจเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วยและการท่ีจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต
๒.แนะนาให้ครอบครัวโดยเฉพาะบุคคลที่มีความสาคัญต่อผู้ป่วยให้กำลังใจแก่ผู้ป่วยเพื่อให้ยอมรับกับสภาพความเจ็บป่วย
๓.แนะนาให้ผู้ป่วยปฏิบัติกิจกรรมที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจและสร้างการยอมรับสภาพความเจ็บป่วยได้เร็วขึ้น เช่น การสวดมนต์ภาวนา หรือกิจกรรม ตามความเชื่อของผู้ป่วย
๔.ให้ความรู้และแนะนาวิธีปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อกลับ บ้าน เช่น การรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การทำกิจวัตรประจำวันเมื่ออยู่กับครอบครัวและอยู่คนเดียว
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยบอกว่าก่อนที่จะประสบอุบัติเหตุมีความสุขมากกว่านี้ใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข