Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลจากวีดีโอ “พระป่วยเป็นอัมพาตครึ่งตัว จนเป็นแผลกดทับขั้นรุนแรง”…
การพยาบาลจากวีดีโอ
“พระป่วยเป็นอัมพาตครึ่งตัว จนเป็นแผลกดทับขั้นรุนแรง”
ปัญหาที่ 2 ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติเนื่องจากสูงอายุมาก
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยมีร่างกายส่วนล่างไม่ค่อยสะอาด
-มือสั่นหยิบจับสิ่งของไม่ถนัด
-เวลาเคลื่อนไหวลำบาก
วัตถุประสงค์
-ผู้ป่วยได้รับการตอบสนองความต้องการด้านกิจวัตรประจำวันตามปกติและส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลกิจวัตรประจำวันของตนเองได้มากที่สุดโดยมีญาติช่วยเหลือเกณฑ์การประเมินผล
-ผู้ป่วยช่วยตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้มากขึ้น
-ร่างกายเสื้อผ้าและสิ่งแวดล้อมสะอาด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
สอนญาติให้ช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถูกวิธีและกระตุ้นให้ผู้ป่วยฝึกปฏิบัติด้วยตัวเองบ่อยๆ
3.จัดหาแปรงสีฟันยาสีฟันและะวังไคยได้ทำความสะอาดน้ำให้ผู้ป่วยได้ทำความสะอาดปากและฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง) และดูแลให้บ้วนปากหลังอาหารทุกมื้อ
ช่วยผู้ป่วยนั่งรถเข็นและพาไปอาบน้ำในห้องน้ำเช้า-เย็น
เปลี่ยนเสื้อผ้าให้ผู้ป่วยทุกครั้งเมื่อมีการเปียกชื้น
จัดให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้สะดวกเช่นวางถาดบนโต๊ะคร่อมเตียงตั้งแก้วน้ำไว้ใกล้มือให้ผู้ป่วยหยิบเองได้สะดวกส่งเสริมให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเองโดยมีผู้ช่วยเหลืออยู่ใกล้ๆ
ดูแลให้หม้อนอนเมื่อผู้ป่วยต้องการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะและทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังการขับถ่ายทุกครั้ง
กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
การประเมินผลการพยาบาล
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่เสมอผู้ป่วยสามารถปฏิบัติได้มากขึ้นสามารถตักอาหารเองได้แต่มีอาหารหกบ้าง
มีร่างกายสะอาด
ปัญหาที่ 1 อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการดึงถ่วงน้ำหนักแบบSkin traction เช่นแผลกดทับ (pressure Sore, plaster sore) ข้อติดแข็ง (joint stifness) กล้ามเนื้อลีบ (muscle atrophy)
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยบอกว่าไม่เข้าใจการปฏิบัติตัว
-ผู้ป่วยชอบนอนตามสบายไม่ถูกท่าของการใส่ Skin traction
-ผู้ป่วยชอบถอดตุ้มถ่วงน้ำหนักออก
-ผู้ป่วยสูบบุหรี่มาเป็นเวลานาน ทำให้แผลกดทับหายช้า
วัตถุประสงค์
-ป้องกันอาการแทรกซ้อนและส่งเสริมการใส่ Skin traction ให้มีประสิทธิภาพเกณฑ์ประเมินผล
-การทำงานของ Skin Traction ถูกต้อง
-ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ Skin traction
-ผิวหนังไม่มีรอยแดง-ข้อต่อต่างๆเคลื่อนไหวได้ดีไม่ยึดตัด
-กล้ามเนื้อไม่เที่ยวลีบ
กิจกรรมการพยาบาล
ย้ำถึงความจำเป็นในการดึงถ่วงน้ำหนักและความสำคัญของการจัดท่านอนผู้ป่วยให้ถูกต้องเพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือเช่นนอนให้ขากางออก (abduction) เล็กน้อยลำตัวและขาเป็นแนวเดียวกับน้ำหนักที่ถ่วง
ดูแลการดึงถ่วงน้ำหนักให้มีประสิทธิภาพได้แก่ไม่ยกตุ้มน้ำหนักออกโดยไม่จำเป็นตรวจเชือกที่ดึงถ่วงน้ำหนักให้ตึงและอยู่บนรอกเสมอตุ้มถ่วงน้ำหนักต้องแขวนลอยอย่างอิสระไม่ติดกับขอบเตียงหรือติดพื้นและไม่แกว่งไปมา
ดูแลให้ Elastic bandage ที่พันไม่แน่นหรือหล
วมเกินไป
4.หมั่นตรวจผิวหนังบริเวณที่พัน Elastic bandage เพราะผู้ป่วยอาจแพ้ผ้าพัน (Adhesive plaster) ได้
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมงและหมั่นตรวจผิวหนังบริเวณที่ถูกกดทับหรือบริเวณที่มีปุ่มกระดูก
ประเมินการถูกกดของเส้นประสาท
กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกล้ามเนื้อและมีการเคลื่อนไหวข้อต่างๆ (ROM)
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยนอนถูกท่าของการใส่ Skin traction มากขึ้นถอดตุ้มน้ำหนักออกน้อยลงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ Skin traction
ปัญหาที่ 3 ปวดข้อมากเนื่องจากมีการอักเสบของข้อต่าง ๆ
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยบ่นปวดตามข้อมือข้อนิ้วและข้อเข่ามาก-pain Score = 7-8
-ผู้ป่วยไม่สามารถเดินได้
-ขาของผุ้ป่วยผิดรูป
-นอนไม่ค่อยหลับ
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการและความรุนแรงของอาการปวดข้อ
ให้ข้อที่อักเสบได้พักมากๆจำกัดการทำกิจกรรมที่ไม่จำเป็น
แนะนำการเคลื่อนไหวของร่าง | กายให้ถูกต้องเพื่อลดอาการปวดเช่นจัดท่าให้สบายใช้เครื่องช่วยพยุงเวลาเดินหรือทำกิจกรรม 4. แนะนำเทคนิคการผ่อนคลายหรือการเบี่ยงเบนความสนใจเพื่อบรรเทาอาการปวดเช่นฟังเพลงอ่านหนังสือดูทีวี
ประคบบริเวณข้อที่ปวดด้วยความร้อน (warm compress) เพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัวยกเว้นขณะที่มีอาการอักเสบรุนแรงของข้อ
ให้ยาแก้ปวด (Analgesic drug) และยาต้านการอักเสบ (Antinflamatory drug) ตามการรักษาของแพทย์และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
แนะนำให้ลดน้ำหนักตัวเพื่อลดแรงที่ข้อเข่าจะต้องรับน้ำหนักโดยแนะนำอาหารที่มีแคลอรีต่ำเช่นอาหารลดไขมันลดหวานเพิ่มผักผลไม้ที่ไม่หวานจัดเป็นต้น
วัตถุประสงค์
-บรรเทาอาการปวดเกณฑ์ประเมินผล
-ผู้ป่วยไม่บ่นปวดมาก-pain score ต่ำกว่า 5
-นอนหลับได้ดีขึ้นไม่มีอาการแสดงว่าเจ็บปวดเช่นหน้านิ่วคิ้วขมวด
-ทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้มากขึ้นเดินได้ดีขึ้น
การประเมินการพยาบาล
ผู้ป่วยบ่นปวดข้อน้อยลง pain score = 4-5
สามารถทำกิจกรรมต่างๆและนอนหลับได้มากขึ้นโดยไม่ต้องให้ยาแก้ปวดเพิ่ม
ปัญหาที่ 4 หมดความภูมิใจในตนเองเนื่องจากต้องพึ่งพาผู้อื่น
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยพูดว่า“ แก่แล้วอายุตั้ง 80 กว่าปี“ อยู่ไปเดี๋ยวก็ตายแล้วอาศัยกินไปวันๆ”
-ขณะพูดมีสีหน้าเศร้า
-ไม่ค่อยพูดคุยกับใครว
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกว่า
ตนเองมีคุณค่ามากขึ้นและเป็นที่รักของครอบครัว
เกณฑ์ประเมินผล
-ผู้ป่วยซึมเศร้าลดลงไม่เงียบเฉยพูดคุยมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้สึกการแสดงออกของผู้ป่วยทั้งคำพูดและพฤติกรรม
บอกผู้ป่วยทุกครั้งเมื่อจะทำอะไรให้ผู้ป่วย
พูดกับผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลอ่อนโยนและรับฟังผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยต้องการพูดไม่แสดงทีท่าเร่งรีบหรือรังเกียจ
ไม่ตำหนิผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยทำอะไรผิดพลาด
ให้กำลังใจผู้ป่วยพูดให้ผู้ป่วยเห็นความสามารถของตนเอง
ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวให้ครอบครัวมีความเข้าใจผู้ป่วยและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความรู้สึกภูมิใจในตนเองของผู้ป่วยให้มีมากขึ้น
แนะนำญาติให้กำลังใจและให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอาการเศร้าเป็นบางครั้งเมื่อพยาบาลและญาติ
ให้กำลังใจผู้ป่วยมีสีหน้าดีขึ้นพูดคุยกับผู้ป่วยข้างเตียงมากขึ้น