Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระป่วยเป็นอัมพาตครึ่งตัว (เกิดภาวะแผลกดทับ เนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกาย…
พระป่วยเป็นอัมพาตครึ่งตัว
เกิดภาวะแผลกดทับ
เนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายช่วงล่างไม่ได้
ข้อมูลสนับสนุน
รอบแผลมีการอักเสบ
ขอบแผลมีความเปื่อยยุ่ย
ความกว้างของแผล 5*5
พื้นแผลมีสีแดง
มีdischarge
ตำแหน่งของแผลที่ก้นกบ
เกณฑ์การประเมิน
แผลไม่มี discharge
แผลมีสีแดงชมพู
รอบแผลไม่มีการอักเสบ
กิจกรรมทางการพยาบาล
กระตุ้นพลิกตะแคงตัว
แนะนำท่านอนที่ถูกต้อง
การทำความสะอาดแผล
วัตถุประสงค์
ผิวหนังไม่มีรอยแดง
ไม่มีการฉีกขาดของผิวหนัง
เกิดภาวะแผลหายช้า เนื่องจากการสูบบุหรี่เป็นเวลานาน
วัตถุประสงค์
แผลมีสีแดงชมพูซึ่งแสดงถึงการเจริญของเซลล์ของแผล
แผลของผู้ป่วยไม่มีdischarge
ให้ผู้ป่วยมีความรู้เรื่องบุหรี่ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่
เกณฑ์การประเมิน
แผลของผู้ป่วยไม่มีdischarge
ไม่มีพื้นแผลเป็นสีเหลืองหรือสีดำ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีขอบปากคล้ำ
พบสารทาร์ นิโคติน ในปอด
ผู้ป่วยบอกว่า สูบบุหรี่มาเป็นเวลานาน20ปี
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินความพร้อมในการเลิกบุหรี่
อาจจากการเยี่ยมบ้าน โทรศัพท์ถาม จำนวนครั้ง
สูญเสียความสามารถในการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยสามารถขยับ หรือเคลื่อนไหวบางส่วนได้เอง
ส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมประจำวันได้มากขึ้นและบรรเทาอาการเจ็บปวด
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินความรุนแรงของอาการ
ดูแลโภชนาการของผู้ป่วย
แนะะนำการปฏิบัติตัว
ข้อมูลสนับสนุน
ที่ขาเป็นอัมพาตไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ผู้ป่วยบอกว่าไม่ได้รับรู้ถึงความรู้สึกใดๆที่ขา
เป็นผู้ป่วยติดเตียง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยยอมรับในการสูญเสีย
ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวและเข้าใจยอมรับว่าอาจไม่สะดวกเหมือนเดิม
พร่องสุขวิทยาส่วนบุคคล
เนื่องจากร่างกายช่วงล่างเป็นอัมพาต
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยมีความสะอาดทั้งบริเวณแผลและที่อื่นๆ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวเองได้ เพราะช่วงล่างเป็นอัมพาต
ผู้ป่วยบอกว่ามีการเช็ดตัวด้วยตนเอง
เวลาเคลื่อนไหวร่างกายต้องให้ผู้อื่นช่วยเท่านั้น
กิจกรรมทางการพยาบาล
ทำความสะอาดผิวหนังหลังการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่ดี
ประเมินความพร้อมผู้ป่วยในการอาบน้ำ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อที่แผลและไม่มีแผลบริเวณอื่นเพิ่มอีก
ตั้งแต่ผม ฟัน สะอาด
เสื้อผ้าไม่มีกลิ่นสะอาด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุนน
ผู้ป่วยบอกว่าใส่สายสวนปัสสาวะมาเป็นเวลานาน :
ผู้ป่วยขับปัสสาวะเองไม่ได้
เกณฑ์การประเมิน
น้ำปัสสาวะใส ไม่มีตะกอนขุ่น ไม่มีเลือด
อวัยวะเพศมีความสะอาด
กิจกรรมทางการพยาบาล
ดูแลสายสวนปัสสาวะไม่ให้อยู่สูงหรือต่ำกว่ากระเพราะปัสสาวะ
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับน้ำปริมาน2-3ลิตร ต่อวัน
บันทึกน้ำเข้าและน้ำออกของผู้ป่วยทุก8ชั่วโมง