Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระป่วยเป็นอัมพาตครึ่งตัว จนเป็นแผลกดทับขั้นรุนแรง (เสี่ยงต่อการติดเชื้อทา…
พระป่วยเป็นอัมพาตครึ่งตัว จนเป็นแผลกดทับขั้นรุนแรง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลความสะอาดเรียบร้อยบริเวณ Perineum อยู่เสมอ โดยเฉพาะบริเวณรอบๆสายสวนปัสสาวะ
สังเกตปริมาณของน้ำปัสสาวะ
บันทึกปริมาณน้ำที่ผู้ป่วยได้รับและปัสสาวะที่ออก ทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ประเมินอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลสายสวนปัสสาวะให้อยู่ในระบบปิด ไม่ปลดสายสวนข้อต่อระหว่างสายสวนปัสสาวะกับถุงรองรับน้ำปัสสาวะ
ดูแลถุงรองรับน้ำปัสสาวะให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ และอยู่สูงกว่าพื้นห้องเสมอ
เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะทุก 2-4 สัปดาห์
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณ Perineum สะอาดและไม่อับชื้น
น้ำปัสสาวะใสไม่มีตะกอนขุ่น
อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 36.0-37.4 องศาเซลเซียส
การประเมินผลการพยาบาล
อุณหภูมิร่างกายอยู่ใช่ช่วง 36.8-37.2 องศาเซลเซียส ได้รับน้ำดื่มจำนวน 1800 cc ต่อวันน้ำปัสสาวะใส ไม่มีตะกอนขุ่น จำนวน 1500 cc ต่อวัน
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลความสะอาดบริเวณที่ใส่สายสวนปัสสาวะได้เอง
มีท่อเปิดสู่กระเพาะปัสสาวะทำให้มีโอกาสที่เชื้อโรคจะเข้าไปในทางเดินปัสสาวะได้ง่าย
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติเนื่องจากสูงอายุมาก
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้มากขึ้น
ร่างกาย ปาก และฟันสะอาด
เสื้อผ้าและสิ่งแวดล้อมสะอาด
กิจกรรมการพยาบาล
จัดหาแปรงสีฟัน และน้ำให้ผู้ป่วยได้ทำความสะอาดปากและฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
สอนญาติให้ช่วยเหลือผู้ป่วยให้ถูกวิธี
ช่วยผู้ป่วยนั่งรถเข็นและพาไปอาบน้ำในห้องน้ำ
ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
เปลี่ยนเสื้อผ้าให้ผุ้ป่วยเมื่อเปียกชื้น
จัดให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารที่สะดวก
กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยได้รับการตอบสนองความต้องการด้านกิจวัตรประจำวันตามปกติและส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลกิจวัตรประจำวันของตนเองได้มากที่สุดโดยมีญาติคอยช่วยเหลือ
การประเมินผลการพยาบาล
ญาติต้องคอยช่วยเหลือผู้ป่วยอยู่ใกล้ๆและกระตุ้นให้ผู้ป่วยฝึกปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่เสมอ ให้ปฏิบัติได้เองมากขึ้น
ข้อมูลสนับสนุน
มือสั่น หยิบจับสิ่งของไม่ถนัด
เวลาเคลื่อนไหวจะลุกนั่งได้แค่เฉพาะบนเตียง ลงนั่งข้างเตียงและเดินไม่ได้
ผู้ป่วยมีร่างกาย ปาก และฟัน ไม่สะอาด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน (แผลกดทับ ข้อติดแข็ง ท้องผูก)เนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้จากการเป็นอัมพาต
เกณฑ์การประเมินผล
ชับถ่ายอุจจาระได้ไม่เกินวันละ 2-3 วันต่อครั้ง ลักษณะอุจจาระไม่แห้งแข็ง
ผิวหนังไม่มีรอยแดง ไม่เกิดการฉีกขาดของผิวหนัง
กิจกรรมการพยาบาล
สอนญาติให้นวดหลังบริเวณที่มีปุ่มกระดูก เพื่อ กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ดูแลผ้าปูที่นอนให้สะอาดแห้ง และเรียบตึงอยู่เสมอ
แนะนำให้ญาติช่วยเหลือในการพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลการขับถ่าย ไม่ให้ผู้ป่วยนอนแช่ปัสสาวะและอุจจาระ
ประเมินสภาพผิวหนังโดยการสังเกตว่ามีรอยแดงโดยเฉพาะตรงปุ่มกระดูกต่างๆ
แนะนำให้ญาติเตรียมอาหารที่มีกากใยมาให้ผู้ป่วย
สอนญาติให้ช่วยบริหารข้อต่างๆ ตามหลักของ ROM
ดูแลส่วนต่างๆของร่างกายให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดแผลกดทับ ไม่เกิดข้อติดแข็ง ไม่เกิดท้องผูก
การประเมินผลการพยาบาล
ญาติช่วยออกกำลังกายแขนขาให้ผู้ป่วยได้ถูกต้อง วันละ 2-3 ครั้ง ข้อต่างๆยังไม่เกิดอาหารยึดติด
ผู้ป่วยอุจจาระเองได้ ไม่ต้องล้วงหรือสวนอุจจาระให้ผู้ป่วย อุจจาระมีลักษณะปกติ ไม่แห้งแข็ง
ผิวหนังผู้ป่วยมีความชุ่มชื้นหรือไม่ รอยแตกแห้ง รอบแดงที่ผิวหนัง ไม่ไปเกิดที่บริเวณอื่นๆ
ข้อมูลสนับสนุน
เคลื่อนไหวร่างกายส่วนล่างไม่ได้
ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระไม่ได้
ไม่สามารถปรับตัวได้เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบทบาทในหน้าที่การงานจากการที่ร่างกายเป็นอัมพาต
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้สามารถปรับตัวและพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตใหม่
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้ครอบครัวของผู้ป่วยให้กำลังใจผู้ป่วยให้ยอมรับกับสภาพความเจ็บป่วยได้
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความคับข้องใจเกี่ยวกับสภาพความเจ็บปวด
แนะนำให้ผู้ป่วยและญาติร่วมวิเคราะห์ถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยไม่สามารถทำงานเหมือนเดิมได้
ส่งปรึกษากายภาพบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยได้ฟื้นฟูร่างกาย
แนะนำให้ผู้ป่วยปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางด้านจิตใจ
ส่งต่อผู้ป่วยไปปรึกษากับศูนย์ฝึกอาชีพใกล้บ้าน เพื่อให้ได้ทำงานที่เหมาะสม
เกณฑ์ประเมินผล
อาการซึมเศร้าลดลง
ร่วมพูดคุยและรับฟังข้อเสนอแนะจากคนอื่น
ไม่บ่นเกี่ยวกับความพิการของตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน
ร่วมพูดคุยและรับฟังข้อเสนอแนะจากบุคคลอื่น
มีอาการซึมเศร้า ไม่ค่อยพูดกับใคร
การประเมินผลและการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้าลดลง ไม่พูดถึงความพิการของตนเอง หน้าตาสดชื่นขึ้น
เสี่ยงต่อการแผลหายช้าเนื่องจากสูบบุหรี่มาเเป็นเวลานาน
เกณฑ์ประเมินผล
การติดเชื้อของผิวหนัง ได้แก่ มีแผลอักเสบเป็นหนองที่ผิวหนัง ผลจาก การเพาะเชื้อที่แผลพบแบคทีเรีบ
สัญญาณชีพปกติ
แผลสะอาด สารคัดหลั่งน้อย
กิจกรรมการพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ
ดูแลความสะอาดของผิวหนัง อย่าให้ชื้นแฉะโดยเฉพาะบริเวณที่เป็นแผล
จัดสภาพแวดล้อมผู้ป่วยให้สะอาด
ติดตามผลการตรวจสารคัดหลั่ง
กระตุ้นให้มีการลุกนั่งบ่อยๆ เพื่อป้องกันการอักเสบของปอดจากการนอนนานๆ
วัตถุประสงค์
แผลหายเร็วขึ้น
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีไข้ สัญญาณชีพปกติ สารคัดหลั่งมีน้อยลง เตียง ที่นอน ผ้าปูเตียงของผู้ป่วยสะอาด ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อทางผิวหนัง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยสูบบุหรี่มาเป็นเวลานาน 20 ปี