Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเป็น Parapejia (ข้อวินิจฉัยที่ 5 (เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเ…
การพยาบาลผู้ป่วยเป็น Parapejia
ข้อวินิจฉัยที่ 5
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลความสะอาดบริเวณที่ใส่สายสวนปัสสาวะได้เอง
2.มีท่อเปิดสู่กระเพาะปัสสาวะทำให้มีโอกาสที่เขื้อโรคจะเข้าไปในทางเดินปัสสาวะได้ง่าย
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณ Perineum สะอาด ไม่อับชื้น
น้ำปัสสาวะใส ไม่มีตะกอน
อุณภูมิร่างกายอยู่ที่ 36.0 - 37.4 ํC
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตลักษณะ ปริมาณ สี ของปัสสาวะ
2.ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการ
อย่างน้อย 2,000 cc
3.ดูแลความสะอาดบริเวณ Perineum อยู่เสมอ
4.ดูแล Foley catheter ให้อยู่ระบบปิด ไม่ให้สายหัก พับ งอ
5.ดูแลถุงน้ำปัสสาวะ ให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
ข้อวินิจฉัยที่ 1
ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
เนื่องจากขาทั้งสองข้างอ่อนแรง
เนื่องจากเป็น Parapejia
ข้อมูลสนันสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถลุกขึ้นเดินได้
กล้ามเนื้อขาทั้งสองข้างไร้ความรู้สึก
กล้ามเนื้อแขนขาลีบ
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมประจำวันได้มากขึ้น
เกณฑ์ประเมินผล
ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวร่างกายและทำกิจกรรมต่างๆได้เพิ่มขึ้น
บอกวิธีจัดการเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อได้
มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนท่านอน การเคลื่อนไหวบนเตียง
กิจกรรมการพยาบาล
1.สอนให้บุคคลใกล้ชิดให้ช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถูกวิธี
2.กระตุ้นให้บุคคลใกล้ชิดมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
3.ดูแลให้หม้อนอนเมื่อผู้ป่วยต้องการขับถ่ายอุจจาระ และทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังการขับถ่ายทุกครั้ง
ข้อวินิจฉัยที่ 2
มีแผลกดทับบริเวณก้นกบเนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายส่วนล่างได้
ข้อมูลสนับสนุน
1.ขาอ่อนแรงเคลื่อนไหวร่างกายเองไม่ได้
2.ควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ. ปัสสาวะไม่ได้
วัตถุประสงค์
แผลกดทับตื้นขึ้น ไม่ติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมินผล
แผลกดทับไม่กว้างขึ้น ไม่มีสารคัดหลั่งไหล
กิจกรรมการพยาบาล
1.พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง ใช้ผ้ารองยกตัว หลีกเลี่ยงการลากดึงเพื่อลดแรงเสียดสีและแรงกดทับ
2.จัดผ้าปูที่นอนให้เรียบตึง แห้ง และสะอาดอยู่เสมอ
3.ปิดแผลด้วยผลิตภัณฑ์ปิดแผลตามคำแนะนำของแพทย์หรือพยาบาล
4.ทำความสะอาดทุกคนั้งหลังการขับถ่าย
5.ดูแลผิวหนังให้สะอาด
6.ห้ามนวดบริเวณที่มีรอยแดง เพราะจะเพิ่มการอักเสบของผิวหนังส่วนนั้น เสี่ยงต่อการฉีกขาดของผิวหนัง
ข้อวินิจฉัยที่ 4
ขาทั้งสองข้างลีบเนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายส่วนล่างได้น้อยจากการเป็น Parapejia
ข้อมูลสนับสนุน
1.ขาทั้งสองข้างอ่อนแรงไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
2.เป็นอัตพาตส่วนล่าง (Parapejia)
3.
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพิ่มความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยมีความรู้และสามารถปฏิบัติในการเคลื่อนไหว
เพื่อบริหารขาทั้งสองข้างได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของขา
2.ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายบริหาร
3.สอนให้ออกกำลังกายกล้ามเนื้อขาเพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือด
ข้อวินิจฉัยที่ 3
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนก๊าซในถุงลมปอดลดลงจากพยาธิสภาพของโรค COPD
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบโดยเฉพาะเวลาทำกิจกรรม
2.ฟังปอดได้ยินเสียง Wheezing
3.อัตราการหายใจ = 28 ครั้ง/นาที
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้การแลกเปลี่ยนก๊าซในถุงลมปอดมีประสิทธิถาพมากที่สุด
เกณฑ์การประเมินผล
ลักษณะการหายใจปกติ ไม่มีอาการหายใจลำบาก
ผู้ป่วยไม่เกิดอาการขาดออกซิเจน(cyanosis)
อัตราการหายใจประมาณ 16-24 ครั้ง/นาที
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะลักษณะการหายใจและสังเกตอาการ Cyanosis
2.จัดท่าผู้ป่วยให้นอนศีรษะสูงเพื่อทำให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง ไม่ไปดันปอดทำให้ปอดแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีขึ้น
3.ดูแลให้ได้รับ O2 ตามแผนการรักษาของแพทย์
4.ฝึกให้ผู้ป่วยบริหารการหายใจให้ถูกต้องโดยการหายใจเข้าลึกๆแล้วค่อยๆผ่อนลม
5.ส่งเสริมการออกกำลังกายให้ผู้ป่วย เช่น การเดิน การเดินเร็ว