Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ของ พระสุนันท์ เพิ่มพงษ์ (ข้อมูลทั่วไป (อายุ 69 ปี…
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ของ พระสุนันท์ เพิ่มพงษ์
ข้อมูลทั่วไป
อายุ 69 ปี (ข้อมูล ณ ปีพ.ศ. 2559)
บวชมา 8 ปี (พ.ศ. 2551 - 2559)
พระสุนนทํ เพิ่มพงษ์
ประจำอยูที่วัดโพธิ์สุวรรณ จังหวัด สุพรรณบุรี
เป็นอัมพาตครึ่งตัวส่วนล่าง
มีแผลกดทับที่ก้นกบ
ตกจากหลังคาวัดเนื่องจากขึ้นไปขัดหลังคา
สูบบุหรี่ วันละซอง สูบมา 20 ปี
คาสายสวนปัสสาวะ Foley’s Catheter
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีแผลกดทับที่บริเวณก้นกบ (Coccyx)
เกณฑ์การประเมินผล
ผิวหนังเรียบตึง ไม่มี รอยแดง ไม่เกิดการฉีก ขาดของผิวหนังหรือแผล ถลอกเพิ่มขึ้น
ผิวหนังชุ่มชื้นและมี ความยืดหยุ่นดี
แผลกดทับมีขนาด ลดลง หายเร็ว และไม่ เกิดแผลกดทับใหม่
Braden scale score >16
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลผิวหนัง ทำความสะอาดไม่ให้เปียกชื้นโดยเฉพาะหลังปัสสาวะและอุจจาระ
ทำครีมหรือวาสลีน เพื่อลดการแห้งแตกของผิวหนัง
ป้องกันการเสียดสี เช่น ใช้ผ้ายกตัว ไม่ควรใช้วิธีลาก
ให้ผู้ป่วยได้รับอาหารอย่างพอเพียง
พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง และจัดท่าผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวเท่าที่ทำได้
วัตถุประสงค์
เพื่อให้สุขสบายมากขึ้นกว่าเดิม
เพื่อดูแลรักษาแผลกดทับให้มีขนาดลดลง
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้ม
แผลกดทับมีขนาดเล็กลง
ผู้ป่วยบอกว่า “ดีขึ้นกว่าเดิมเยอะ”
ไม่เกิดแผลกดทับที่บริเวณอื่น
ข้อสนับสนุน
แผลกดทับขนาดใหญ่ที่ก้นกบ อยู่ในระยะ 4 เกิดการสูญเสียผิวหนังไปทั้งหมด จนถึงชั้นกล้ำมเนื้อเอ็นและกระดูก
ผู้ป่วยบอกว่า “ ลองเอามือไปลูบที่แผลพรุนหมดแล้ว ”
ผู้ป่วยเป็นอัมพาต ของร่างกายส่วนล่าง (Paraplegia) ได้รับการบาดเจ็บของเส้นประสาท
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (Urinarytract infevtion)
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อ ทางเดินปัสสาวะ
เกณฑ์การประเมินผล
ปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มี ตะกอน
White blood cell (WBC) อยู่ในช่วง 5-10 THSD/cu.mm. Red blood cell (RBC) อยู่ในช่วง 4.6-6.2 million/ cu.mm. Platelet อยู่ในช่วง 150-400 THSD/cu.mm.
อุณหภูมิร่างกาย 39.5-36'5 องศาเซลเซียส
ไม่มีอาการปวด บวม แดงบริเวณผิวหนังที่สอด ใส่สาย
ข้อสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถดูแล ความสะอาดบริเวณที่ใส่ สายสวนปัสสาวะได้เอง
ผู้ป่วยควบคุมการขับ ปัสสาวะไม่ได้
มีสายสวนปัสสาวะ (Retained Foley’s Catheter) ต่อกับ กระเพาะปัสสาวะท ำให้มีโอกาสที่เชื้อโรคจะเข้า ไปในทางเดินปัสสาวะได้ ง่าย
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแล Foley’s Catheterให้ อยู่ในระบบปิด(Close system)
ดูแลความสะอาดอวัยวะสืบ พันธ์อยู่เสมอโดยเฉพาะบริเวณ รอบ ๆ สายสวนปัสสาวะเพื่อ ป้องกันการน าเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
ล้างมือก่อนและหลังให้การ พยาบาลทุกครั้ง
ดูแลถุงรองรับน้ าปัสสาวะ (Urine bag)ให้อยู่ต่ ากว่า กระเพาะปัสสาวะ
ใช้ Aseptic technique ใน การเทน้ าปัสสาวะออกทุกครั้ง และปิดท่อที่เทน้ าปัสสาวะออก
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยมีความรู้การดูแลสายสวนปัจจาวะด้วยตนเอง
อุณหภูมิร่างกายอยู่ในช่วง 36.8-37.2 องษาเซลเซียส
ปัสสาวะใส ไม่มีตะกอนขุ่น จำนวน 1500 cc/วัน
3.ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากสูงอายุมาก
เกณฑ์การประเมินผล
ร่างกาย ปาก และฟันสะอาด
เสื้อผ้าและสิ่งแวดล้อมสะอาด
ช่วยตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้มากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยฝึกปฎิบัติด้วยตนเองบ่อย ๆ
ดูแลสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยให้ดีขึ้น
ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
ได้รับการตอบสนองด้านกิจวัตรประจำวันปกติ
ส่งเสริมในผู้ป่วยสามารถดูแลกิจวัตรประจำวันของตนเองได้มากที่สุดโดยมีญาติช่วยเหลือ
การประเมินผลการพยาบาล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยฝึกปฑิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่เสมอ
ผู้ป่วยสามารถปฎิบัติได้มากขึ้น
ญาติผู้ป่วยคอยช่วยเหลือผู้ป่วยอยู่ใกล้ ๆ
ข้อสนับสนุน
เคลื่อนไหวร่างกายได้น้อย เป็นอัมพาตท่อนล่าง
ต้องมีคนมาช่วยดูแล
ผู้ป่วยอายุ 69 ปี
มีโอกาสเกิดลิ่มเลือดในเส้นเลือดดำส่วนลึกของขาจากการนอนนาน ๆ โดยไม่มีการเคลื่อนไหว
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการปวดบริเวณน่องทั้ง 2 ข้าง
ไม่มีอาการบวมบริเวณปลายเท้าทั้ง 2 ข้าง
ไม่มีไข้ สัญญาณชีพอื่น ๆ ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหว การพลิกตัว หรือออกกำลังกายบนเตียงบ่อย ๆ เช่น เกร็งปลายเท้า การกระดกปลายเท้า
สังเกตปลายเท้าทั้ง 2 ข้าง ผิวหนังอุ่นกว่าข้างที่ปกติ และแดงคล้ำจากการมีการอักเสบของหลอดเลือดดำ
สังเกตอากาปวดลึกบริเวณน่องและอาการบวมกดบุ๋มจากการคั่งของเลือดบริเวณปลายเท้าทั้ง 2 ข้าง
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินการเกิดไข้
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในเส้นเลือดดำส่วนลึกของขา
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยปฏิบัติตามคำแนะนำ
ไม่มีอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดในส่วนเส้นเลือดดำส่วนลึกของขา
พยายามกระดกปลายเท้าโดยใช้มือช่วยพยุง
ข้อสนับสนุน
จำกัดการเคลื่อนไหวหลังเป็นอัมพาตท่อนล่าง
ผู้ป่วยสูงอายุ
ผู้ป่วยเดินไม่ได้
ความภาคภูมิใจในตนเองลดลงเนื่องจากต้องพึงพาผู้อื่น
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยซึกเศร้าน้อยลง
พูดคุยมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
บอกผู้ป่วยทุกครั้งเมื่อจะทำการรักษาอะไร
พูดกับผู้ป่วยด้วยความนิ่มนวลอ่อนโยน และรับฟังผู้ป่วย
ประเมินความรู้สึกการแสดงออกของผู้ป่วยทั้งคำพูดและพฤจิกรรม
ไม่ตำหริผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยทำอะไรผิดพลาด
ให้กำลังใจ พูดให้ผู้ป่วยเห็นความสามารถของตนเอง
ส่งเสริมความรู้สึกภูมิใจในตนเอวของผู้ป่วยให้มีมากขึ้น
แนะนำให้ญาติให้กำลังใจ และให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่ามากขึ้น
การประเมินผลการพยาบาล
มีสีหน้าดีขึ้น
พูดคุยชัดเจน
ไม่รู้ว่าตนเองไม่มีคุณค่า
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยบอกว่า "ชีวิตมนุษย์เรา คนเรา พระเราต้องเป็นแบบนี้ทุกคน ปล่อยแล้ว"
ขณะพูดมีสีหน้าเศร้า
ร่างกายขาทั้ง 2 ข้างอ่อนแรง
ผู้ป่วยบอกว่า "ไม่มีใครดูแล ถุงฉี่ทำเอง ถ่ายอุจจาระทำเอง แล้วค่อยมีคนมาเก็บให้"
มีโอกาสได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากขาดความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
จัดอาหารให้น่ารับประทานและรับประทานขณะอุ่น ๆ
ประเมินอาหารขาดสารอาหาร เช่น เยื่อบุตาซีด อาการบวมจากอัลบูมินในเลือดต่ำ
อาหารควรเป็นอาหารอ่อน ดูดซึมและย่อยง่าย
ประเมินสารน้ำที่เข้าออกจากร่างกาย
แนะนำอาหารที่มีประโยชน์โดยเฉพาะอาหารที่มีโปรตีนสูง เพื่อส่งเสริมการหายของแผลกดทับ
เกณฑ์การประเมินผล
เยื่อบุตามีสีแดง
ผู้ป่วยได้รับสารอาหารครบทุกมื้อ
serum albumin มากกว่า 3.5 gm%
แขนขามีแรงมากขึ้นพอหยิบจับของได้
แผลกดทับดีขึ้น
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การประเมินผลการพยาบาล
serum albumin = 3.5 gm%
electrolyte ปกติ
ผูุ้ป่วยได้รับสารอาหารครบทุกมื้อ
ข้อมูลสนับสนุน
อ่อนเพลีย กล้ามเนื้อแขนขาลีบ ขาทั้ง 2 ข้างอ่อนแรง
มีแผลกดทับที่บริเวณก้นกบ
รูปร่างผอม
ผู้ป่วยบอกว่า "ทานอาหารได้ทั่วไป ปกติ"
มีภาวะกล้ามเนื้อขาลีบ (Muscle atrophy) เนื่องจากเป็นผู้ป่วยติด เตียง (Bed Riddle)
เกณฑ์การประเมินผล
ผิวหนังชุ่มชื้น มีความ ยืดหยุ่นดี
ข้อต่อต่าง ๆ เคลื่อนไหวได้ดี ไม่ยึดติด
กล้ามเนื้อขาไม่ลีบมากกว่าเดิม
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายถึงผลดีของการ ออกก าลังกาย
ให้กำลังใจ ผู้ป่วย และมีส่วนร่วมในการ ช่วยเหลือผู้ป่วยในการ เคลื่อนไหวและออกกำลังกาย
ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ มี ก า ร เคลื่อนไหว การพลิกตัว หรือ การออกก าลังกายบนเตียง บ่อย ๆ เช่น การท า ROM (Range of motion)
แนะนำให้ผู้ป่วยทาน้ำมัน มะกอกหรือโลชั่นบำรุงผิว ช่วยให้ผิวหนังมีความชุ่มชื่นขึ้น
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดภาวะ กล้ามเนื้อขาลีบ
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยออกกำลังกายโดยใช้มือยกขาได้มากขึ้นกว่าเดิม
ผิวหนังไม่เหี่ยวแห้ง ชุ่มชื้น ยืดหยุ่นดี
กล้ามเนื้อขา มีแรงมากขึ้น
ไม่เกิดภาวะข้อติดแข็ง
ข้อมูลสนับสนุน
อัมพาต ส่วนล่าง (Paraplegia) ไม่สามารถยืนหรือเดินได้
-กำลังของกล้ามเนื้อ (Muscle power) ตั้งแต่ ส่วนก้นกบจนถึงเท้า มี อาการอ่อนแรง อยู่ใน ระดับ ๐ คือ กล้ามเนื้อไม่มีแรง ไม่มีการหดตัว ของกล้ามเนื้อ
ผู้ป่วยบอกว่า "ใช้มือดัดขาตนเอง ดีขึ้นกว่าเดิม"
มีภาวะเท้าตก (Foot drop) เนื่องจาก เส้นประสาท Peroneal ถูกกดทับจากการนอนนาน
เกณฑ์การประเมินผล
ปลายเท้าของผู้ป่วยไม่งุ้ม งอมากกว่าเดิม
ผู้ป่วยสามารถบริหารข้อ และปลายเท้าได้ดีด้วย ตนเองอย่างสม่ าเสมอและ ถูกวิธี
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอนของผู้ป่วย ให้เหมาะสมไม่นอนขา แบะหรือนอนตะแคงข้าง เดิมเป็นเวลานาน
นำหมอนมาดันบริเวณ ปลายเท้า
การนำผ้าขนหนูหรือ ปลอกหมอนข้างมาเกี่ยวพันระหว่างฝ่าเท้า และใช้มือดึงเพื่อให้ปลาย เท้ากระดกขึ้น
ให้ความรู้ผลดีจากการออกกำลังกายให้กับผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
ประคับประคองตามอาการและทำกายภาพบำบัดให้ปลาย เท้าไม่งุ้มงอไปมากกว่าเดิม
ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำกายภาพบำบัดที่ง่ายและ ถูกต้อง
ผู้ป่วยสามารถบริหารข้อ และปลายเท้าได้ดีด้วย ตนเองอย่างสม่ าเสมอและ ถูกวิธี
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยอธิบายถึงผลดีของการออกกำลังกายได้
ผู้ป่วยปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอ
ปลายเท้าไม่งุ้ม งอมากกว่าเดิม
ข้อมูลสนับสนุน
กระดกปลาบเท้าทั้ง 2 ข้างไม่ได้
ผู้ป่วยไม่สามารถ เคลื่อนไหว หรือบริหาร ข้อและกล้ามเนื้อขาทั้ง ๒ ข้าง
ผู้ป่วยเป็นอัมพาต ร่างกายส่วนล่าง (Paraplegia)
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่เป็น
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดและปฏิบัติตามได้
ไม่พูดถึงตนเองในด้านลบ
ผู้ป่วยสามารถสื่อสารบอกความต้องการของตนเองกับผู้อื่นได้
เอาใจใส่ดูแลตนเองมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติให้ผู้ป่วยเข้าใจเพื่อลดความวิตกกังวลและความหวาดกลัวต่อโรคที่เป็น
ให้กำลังใจผู้ป่วย พูดคุยด้วยความนุ่นนวล
อธิบายเกี่ยวกับโรคให้ผู้ป่วยทราบตามความเหมาะสม
รับฟังปัญหาของผู้ป่วย เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกและซักถามปัญหา
วัตถุประสงค์
เสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพให้ผู้ป่วย
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่พูดถึงตนเองในแง่ลบ
อธิบายเกี่ยวกับโรคที่เป็นได้อย่างเหมาะสม
ผู้ป่วยบอกว่า "สบายใจขึ้นและดีขึ้นกว่าเดิม"
พักผ่อนนอนหลับได้
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยบอกว่า "อยากกลับบ้านไปอยู่บ้าน อยากไปรักษาที่ โรงพยาบาลสงฆ์ คิดว่าหมอรักษาดี"
ผู้ป่วยบอกว่า "ญาติดูสภาพแล้ว ไม่มีใครตอนรับ "
ผู้ป่วยเป็นอัมพาต ร่างกายส่วนล่าง (Paraplegia)
มีแผลกดทับที่บริเวณก้นกบ
เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนก๊าซในถุงลมปอดลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
อัตราการหายใจประมาณ 12-22 ครั้ง/นาที
ไม่ใช้กล้ามเนื้อพิเศษช่วยในการหายใจ (Acsessory muscle)
ลักษณะการหายใจปกติ ไม่มีอาการหายใจลำบาก
ผู้ป่วยไม่เกิดอาการขาดออกซิเจน (cyanosis)
ผล Chest X ray ปกติ
PO2=80-100 mm.Hg.
PCO2=35-45 mm.Hg.
HCO3=22-26 mEq/L
O2 sat=95-100 %
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการขาดออกซิเจน (cyanosis)
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศรีษะสูง เพื่อให้กะบังลมเคลื่อนต่ำลงไม่ไปดันปอดขยายตัวดีขึ้น
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะการหายใจว่ามีการหายใจเร็วและแรงขึ้น หายใจลำบาก หรือใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจหรือไม่
ติดตามผลการตรวจ chest X-rat c]t blood gas เป็นระยะ ๆ
ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษจากสูบบุหรี่ให้ผู้ป่วยเข้าใจ
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้การแลกเปลี่ยนก๊าซในถุงลมปอดมีประสิทธิภาพมากที่สุด
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีอาการขาดออกซิเจน (cyanosis)
ไม่มีอาการเหนื่อยหรือน้ำเสียงสั่นขณะพูด
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบน้อยลง
ผู้ป่วยบอกถึงโทษของบุหรี่เบื้องต้นได้
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบ
ร่างกายผอมซูบ
ผู้ป่วยสูบบุหรี่วันละซอง สูบมา 20 ปี
ขณะพูดมีน้ำเสียงสั่นและเบา
เสี่ยงต่อการเกิดถุงลมโป่งพองเนื่องจากสูบบุหรี่เป็นเวลานาน
เกณฑ์การประเมินผล
มีการหายใจไม่หอบเหนื่อย
อาการไอเรื้อรังลดน้อยลง
ผู้ป่วยสูบบุหรี่น้อยลงหรือไม่สูบเลย
ผิวหนังมีความชุ่มชื้น ไม่แห้ง ยืดหยุ่นดี
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับสาเหตุการติดบุหรี่ แนวทางในการบำบัดรักษา วิธีการ
ที่จะหยุดบุหรี่ได้อย่างถูกต้อง
สนับสนุนให้กำลังใจผู้ป่วยได้ด้วยตนเอง เสริมความมีคุณค่าในตนเองให้ผู้ป่วย
พูดคุยให้ผู้ป่วยได้สำรวจถึงผลดีผลเสียที่ตามมาจากพฤติกรรมการสูบบุหรี่
ป้องกันการลุกลามของโรค โดยการแนะนำให้ผู้ปป่วยหยุดสูบบุหรี่
พยาบาลสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ โดยแสดงความเห็นอกเห็นใจ เข้าใจ
รับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ ด้วยท่าทีที่เป็นมิตร อบอุ่น
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดโรคถุงลมโป่งพอง
การประเมินผลการพยาบาล
มีการกายใจสม่ำเสมอดี
ไม่มีอาการไอเรื้อรัง
ผู้ป่วยไม่สูบบุหรี่
ข้อมูลสนับสนุน
ร่างกายผอมซูบ
ผู้ป่วยมีการหายใจลำบาก
ผู้ป่วยสูบบุหรี่วันละซอง สูบมา 20 ปี
ผู้ป่วยมีอาการไอเรื้อรัง
หายใจมีเสียงวี๊ด
ผู้ป่วยมีลักษณะตัวเขียวโดยเฉพาะที่ริมฝีปาก และปลายนิ้ว
มีโอกาสเกิดสมองเสื่อมเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโทษของบุหรี่
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยบอกถึงโทษของบุหรี่ได้เบื้องต้น
ผู้ป่วยสูบบุหรี่น้อยลงหรือไม่สูบเลย
ผู้ป่วยเล่าเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น ให้ฟังได้
กิจกรรมการพยาบาล
ตระหนักและส่งเสริมให้ผู้ป่วยเลิกบุหรี่
ให้กำลังใจผู้ป่วย อย่างสม่ำเสมอ
ให้ความรู้เรื่องโทษของบุหรี่ให้ผู้ป่วยเข้าใจในเบื้องต้น
ประเมินภาวะสมองเสื่อมของผู้ป่วย
การสอนผู้ป่วยให้เข้าใจถึงโรคและการช่วยเหลือตัวเองได้
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่บำรุงสมอง
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าใจโทษของบุหรี่เพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อม
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยบอกเล่าเรื่องราวได้เหมาะสมตามช่วงอายุ ไม่มีอาการหลงลืม
ผู้ป่วยเข้าใจโทษจากบุหรี่ที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองได้
ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยสูงอายุ อายุ 69 ปี
ผู้ป่วยมีอาการหลงลืม ขณะพูดติด ๆ ขัด ๆ
ผู้ป่วยสูบบุหรี่วันละซอง สูบมา 20 ปี
ค