Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากคาสายสวนปัส…
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
เกณฑ์การประเมิน
น้ำปัสสาวะใส ไม่มีตะกอนขุ่น
อุณหภูมิร่างกายไม่เกิน 37.4 องศาเซลเซียส
ผลการตรวจปัสสาวะได้ค่าปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
-ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาฆ่าเชื้อโรคตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงของยา
-ติดตามผลการตรวจปัสสาวะภายหลังการรักษา
ล้างมืออย่างถูกต้องทุกครั้งหลังให้การพยาบาลผู้ป่วย
-ดูแลความสะอาดของเสื้อผ้า ที่นอน และสิ่งแวดล้อม
-แยกของติดเชื้อเพื่อทำความสะอาดและส่งทำลายให้ถูกต้อง
วัตถุประสงค์
การติดเชื้อลดลง
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เสี่ยงต่อภาวะท้องผูก เนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระได้ตามปกติ
เกณฑ์การประเมิน
ขับถ่ายอุจจาระทุกวันหรือทุก2-3วัน
Bowel sound 4-6 ครั้ง / นาที
อุจจาระลักษณะปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการถ่ายอุจจาระทุกวัน
กระตุ้นให้ได้รับน้ำมากๆ 2000 ถึง 3000 cc/วัน
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากมาก เช่น ผัก ผลไม้ ฯลฯ
สังเกต บันทึกลักษณะ และระยะเวลาในการขับถ่าย
ฟัง Bowel sound (วันละ 1-2 ครั้งเช้า-เย็น
เกิดแผลกดทับบริเวณก้นกบ(coccyx) stage4 เนื่องจากกล้ามเนื้อสะโพกและขาอ่อนแรงทั้ง 2 ข้าง
วัตถุประสงค์
เพื่อดูแลรักษาแผลกดทับให้มีขนาดลดลง
ญาติและผู้ป่วยรู้วิธีการดูแลและป้องกันการเกิดแผลกดทับได้
เกณฑ์การประเมิน
ไม่เกิดแผลกดทับใหม่และแผลกดทับหายเร็ว
ผิวหนังเรียบตึง ไม่มีรอยแดง ไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังหรือแผลถลอกเพิ่มขึ้น
ผิวหนังชุ่มชื้นและมีความยืดหยุ่นดี
Braden scale score > 16
กิจกรรมการพยาบาล
การจัดท่านอนโดยเว้นช่องว่างระหว่างปุ่มกระดูกเพื่อช่วยลดและกระจายแรงกด อาจใช้ที่นอนที่มีร่องใช้หมอนหรือแผ่นรองตัว
เปลี่ยนท่านอนทุกๆ 2 ชั่วโมง โดยนอนหงานและพลิกตะแคงสลับกัน
ผ้าปูที่นอนควรปูให้เรียบตึง ไม่มีรอยพับย่น
รับประทานอาหารประเภทโปรตีน จากเนื้อสัตว์ นม ไข่มากกว่าปกติ คือ 1.25-1.50 g/kg/วัน และควรได้รับวิตามินซี วิตามินเอและเกลือแร่เพิ่มเติม
มีภาวะกล้ามเนื้อขาลีบ(Muscle atrophy)เนื่องจากเป็นผู้ป่วยติดเตียง(Bed Riddle)
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดภาวะกล้ามเนื้อขาลีบ
เกณฑ์การประเมิน
ค่า cretinine อยู่ในเกณฑ์ปกติ 0.73-1.18 mg/dL
กำลังของกล้ามเนื้อ (muscle power)ตั้งแต่ก้นกบจนถึงเท้าอยู่ในระดับ 2
ผิวหนังชุ่มชื้น มีความยืดหยุ่นดี
กิจกรรมการพยาบาล
กระตุ้นการเคลื่อนไหน การพลิกตัว การออกกำลังกายบนเตียงบ่อยๆ เช่น การทำ ROM(Range Of Motion)
.แนะนำให้รับประทานอาหาร ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย เน้นอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น นม เนื้อสัตว์ ปลาชนิดต่างๆ ไข่ เป็นต้น
ย้ำให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและเพียงพอโดย
ออกกำลังกายทุกวัน เน้นการออกกำลังกายบริเวณขา วันละ30นาที เช่น ดึงขา ขึ้นลง งอ-เหยียดข้อสะโพก
สนับสนุนบุคคลในครอบครัวเพื่อให้กำลังใจผู้ป่วยและมีส่วนร่วมในการ ช่วยเหลือผู้ป่วยในการเคลื่อนไหวและออกกำลังกาย
หากผิวหนังของผู้ป่วยแห้งหรือเหี่ยวย่น แนะนำให้ผู้ป่วยหรือญาติ ทาน้ำมัน มะกอกหรือโลชั่นบำรุงผิว ช่วยให้ผิวหนังมีความชุ่มชื่นขึ้น
มีภาวะเท้าตก (foot drop) เนื่องจากเส้นประสาท
Peroneal ถูกกดทับจากการนอนนาน
วัตถุประสงค์
ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำกายภาพบำบัดที่ง่ายและถูกต้อง
ประคับประคองตามอาการและทำกายภาพบำบัดให้ปลายเท้าไม่งุ้มงอ
ไปมากกว่าเดิม
เกณฑ์การประเมิน
ปลายเท้าของผู้ป่วยไม่งุ้มงอมากกว่าเดิม
ผู้ป่วยสามารถบริหารข้อและปลายเท้าได้ดีด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ
และถูกวิธี
กิจกรรมการพยาบาล
ทำกายภาพบำบัดโดยการนำผ้าขนหนูหรือ ปลอกหมอนข้างมาเกี่ยวพันระหว่างฝ่าเท้าและใช้ มือดึงเพื่อให้ปลายเท้ากระดกขึ้น
จัดท่านอนของผู้ป่วยให้เหมาะสมไม่นอนขาแบะหรือนอนตะแคง
ข้างเดิมเป็น เวลานาน
หลีกเลี่ยงการนั่งท่าเดิมเป็นเวลานานป้องกันการเกิดแผลกดทับ
นำหมอนมาดันบริเวณปลายเท้า
ใช้กับอุปกรณ์ในการช่วยบริหาร เช่น Ankle foot orthosis; AFO
เสี่ยงต่อการหายใจลำบากเนื่องจากผู้ป่วยสูบบุหรี่เป็นเวลานาน
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการหายใจลำบาก
ให้ผู้ป่วยได้นับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมิน
ไม่เกิดภาวะขาดออกซิเจน
อ่อนเพลียลดลง สามารถทำกิจกรรมได้มากขึ้น
ไม่มีความผิดปกติของเสียงหายใจ ไม่หอบเหนื่อย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอัตราการหายใจ จังหวะ ความลึกและความแรงของการหายใจ
ดูแลให้ได้รับ O2 cannula 3L/M เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนแก่ร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมอย่างเหมาะสม
สอนให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ(Deep Breathing)
จัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อให้หายใจได้สะดวก