Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาเบื้องต้นด้วยการทำหัตถการ (การเย็บแผล( Suture wound) (เครื่องมือ …
การรักษาเบื้องต้นด้วยการทำหัตถการ
หัตถการผ่าฝี
(Incision and drainage)
ข้อบ่งชี้ การกรีดระบายหนองแบบ โพรงบริเวณผิวหนัง (cutaneous anscess)
การวินิจฉัย การตรวจร่างกายพบอาการ ปวด บวม แดง ร้อน และกดมียวบ (fluctuance) ในกรณีที่ไม่สามารถแยกจากภาวะ cellulitis ได้ จะมีการทดสอบโดยใช้เข็มเบอร์ 18 เจาะดูว่ามีหนองอยู่หรือไม่เพื่อจะได้ทำการรักษาที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์ เพื่อระบายหนอง
เครื่องมือ /อุปกรณ์
ถุงมือปลอดเชื้อ
Artery clamp โค้งเล็ก
Forceps
กรรไกรตัดไหม กรรไกรตัดชิ้นเนื้อ
ผ้า Gauze Gauze drain ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
NSS น้ำยา Aseptic povidine
ใบมีดNO11 พร้อมด้ามมีด No 3
เข็มเบอร์ 25 + syring 3-5 ml บรรจุยาชาเฉพาะที่ ( xylocain 1- 2%)
Syring 10 ml
ขั้นตอนการทำหัตถการ
จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม
ล้างมือให้สะอาดและสวมถุงมือปลอดเชื้อ
ทาน้ำยา Antiseptic( providine) ให้เป็นบริเวณกว้างให้คลุมพื้นที่ทำหัตถการ
ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ให้บริเวณส่วนที่ต้องการทำหัตถการอยู่ตรงกลาง
ฉีดยาชาเฉพาะที่แบบ field block ให้รอบแผล และฉีดบริเวณที่จะกรีด
หัตถการผ่าฝี (Incision and drainage)
ใช้ใบมีดกรีด เปิดฝีที่ตำแหน่งที่น่วมที่สุดกว้างเท่ากับโพรงหนองหรือเล็กว่าเล็กน้อย
ใช้นิ้ว ด้ามมีด หรือ Artery clamp โค้งเล็ก ทำการblunt dissect เพื่อ clear loculations of pus
ใช้ Syring 10 ml สวนล้างให้สะอาด
บรรจุ Gauze drain เข้าไปในโพรงผีแบบหลวมๆ
ปิดแผล
การเอาเบ็ดออก
ขั้นตอนในการทำหัตถการ
ทาน้ำยา Antiseptic (povidine) ให้เป็นบริเวณกว้าง
ทำความสะอาดบริเวณบาดแผลให้สะอาด สวมถุงมือปลอดเชื้อ
ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ให้บริเวณส่วนที่ต้องการทำหัตถการอยู่ตรงกลาง
ฉีดชาเฉพาะที่
เอาเบ็ดออก
ทำความสะอาดบริเวณรอยแผล พร้อมปิดแผล
เครื่องมือ /อุปกรณ์
น้ำยา Antiseptic( providine)
Needle Holder
คีมตัดโลหะ
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
ผ้าผ้า Gauze
เข็ม+syring ยาชา
การเจาะเล็บ
ขั้นตอนในการถอดเล็บ
การจี้ด้วยไฟฟ้า Cautery
เป็นการเจาะเล็บให้เป็นรูด้วยเครื่องจี้ไฟฟ้า จนกระทั่งเลือดระบายออกมาได้
การใช้เข็ม
โดยจะใช้เข็มฉีดยาที่มีขนาดใหญ่ ค่อย ๆ เจาะไปที่เล็บจนระบายเลือดออกมาได้
การใช้คลิปหนีบกระดาษ
เป็นเทคนิคเก่า ที่อาจจะยังมีใช้อยู่บ้าง โดยการใช้คลิปหนีบกระดาษเผาไฟให้ร้อน และนำไปเจาะที่เล็บ
ถ้าสงสัยว่าจะมีการฉีกขาดของnailbed อาจจะต้องถอดเล็บออกเพื่อตรวจดู nailbed หากพบว่ามีการฉีกขาดมาก อาจจะต้องทำการเย็บซ่อมแซม
วัตถุประสงค์ บรรเทาอาการเจ็บปวด โดยไม่ต้องถอดเล็บ
การถอดเล็บ( Nail Extraction )
เครื่องมือ /อุปกรณ์
ถุงมือปลอดเชื้อ
Artery clamp โค้งเล็ก , Artery clamp ตรง
กรรไกรตัดชิ้นเนื้อ
ผ้า Gauze , vaseline Gauze , ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
NSS น้ำยาAseptic povidine
ใบมีดNO 11 พร้อมด้ามมีด No 3
เข็ม+syring บรรจุยาชาเฉพาะที่ ( xylocain 2%)
การถอดเล็บ( Nail Extraction )
ขั้นตอนในการทำหัตถการ
เตรียมอุปกรณ์ จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม
ทำความสะอาดผิวหนังเบื้องต้น ให้สะอาด
สวมถุงมือปลอดเชื้อ
ทาน้ำยา Antiseptic( povidine) ให้เป็นบริเวณกว้าง
ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ให้บริเวณส่วนที่ต้องการทำหัตถการอยู่ตรงกลาง
ฉีดยาชาเฉพาะที่ ( Digital nerve block )
ใช้มีดเซาะบริเวณซอกเล็บ และใช้ Artery clamp โค้งเล็กเซาะ ใต้เล็บ (ระวังบ ริเวณ Nail bed )
ใช้ Artery clamp ตรง ขับบริเวณซอกเล็บที่เปิดแล้วด้านหนึ่งให้มั่น บิดหมุนเล็บให้หลุดออกมา
ปิดแผลด้วย vaseline Gauze ก่อนปิดด้วยผ้า Gauze
วัตถุประสงค์ เพื่อบรรเทาอาการปวด และเพื่อส่งเสริมให้เล็บงอกออกมาใหม่
บาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ทางนิติวิทยาศาสตร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ชนิด
บาดแผลถลอก (Abrasion)
บาดแผลฟกช้ำ (Contusion of bruise)
บาดแผลถูกแทง (Stab wound) (penetrating wound)
บาดแผลฉีกขาดขอบเรียบ (Cut or incised wound)
บาดแผลฉีกขาดขอบไม่เรียบ (Lacerated wound)
บาดแผลเกิดจากกระสุนปืน (Gunshot wound)
การเย็บแผล( Suture wound)
ยาชาเฉพาะที่
ชนิดของยาชา
pontocain HCl ใช้ทาบนเยื่อเมือก เช่น จมูก ปาก คอ ตา
Procain HCl injection (Novocain) ออกฤทธิ์เร็ว1/2%,1%,2% มีชนิดผสม adrenaline
Lidocaine HCl injection ( xylocain ) นิยมใช้กันมาก ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทความรู้สึกมากกว่าประสาทสั่งการเคลื่อนไหว โดยฉีด SC หรือ IMมีชนิดผสม adrenaline
หลักการฉีดยาชา
การเตรียมอุปกรณ์
1.เตรียมเข็มฉีดยา ขนาด 25 G, 27 G ยาว 2 เซนติเมตร สำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง ,
2.น้ำยาทาฆ่าเชื้อโรค เช่น Povidone Iodine , 70 % alcohol ; ผ้าคลุมบริเวณที่ทำหัตถการ
3 เตรียมยาชาเฉพาะที่ เลือกชนิดของยาชาตามความเหมาะสมของหัตถการ
ขั้นตอนหัตถการ
1 ล้างมือ หรือใช้เจลฆ่าเชื้อโรคทำความสะอาดมือ สวมถุงมือ เปิดห่ออุปกรณ์ เครื่องมือทำหัตถการ
2 เปิดห่ออุปกรณ์ เครื่องมือทำหัตถการ
3 เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาให้ปราศจากเชื้อด้วยการทาน้ำยาฆ่าเชื้อ , ปูผ้าคลุม บริเวณที่ทำหัตถการ
4 ฉีดยาชาเข้าใต้ชั้นผิวหนัง (intradermal) เพื่อทำให้เกิดรอยนูน (wheal)โดยใช้เข็ม 25 G ประมาณ 0.5 ml. ก่อนฉีดยาชาทุกครั้งต้องดูดดูว่าปลายเข็มแทงเข้าหลอดเลือด หรือไม่
5 ค่อยๆ ปักเข็มเข้าไปในเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง เพื่อเดินยาชา และควรฉีดยาชาเพียง 1-2 mlรอดูสัก 1-2 นาที ถ้าไม่มีปฏิกิริยาแพ้ยาก็ฉีดต่อจนครบปริมาณที่ต้องการ
ประเภทของการฉีดยาชา
1.Local infiltration
Direct infiltration
การฉีดเฉพาะที่ ฉีดโดยตรง
Field infiltration
การฉีดรอบๆ
2.Digital nerve Block
Axial block
การฉีดด้านข้าง 2 จุดตรงข้ามกัน ตั้งฉากกับนิ้ว จนชน bone
Web space Block
การฉีดบริเวณ web space ด้านข้างของนิ้วทั้ง2ข้าง
เครื่องมือ อุปกรณ์
Needle Holder
เข็มเย็บ(cutting)
จำแนกตามลักษณะปลายเข็ม
1.round or taper ใช้ในเนื้อเยื่อที่บางเนื่องจากจะทำให้เกิด scar ได้น้อย
2.cutting edge ใช้ในเนื้อเยื่อที่หนา
3.reverse cutting edge
Artery clamp
Forceps
กรรไกรตัดไหม กรรไกรตัดชิ้นเนื้อ
วัสดุเย็บแผล
ชนิดที่ละลายไปเองได้
เอ็นธรรมดา เรียกว่า Plain cut gut ละลายเร็ว5-10วัน ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ
เอ็นชุบน้ำยา เรียกว่า chromic cut gut ( vicryl)ละลายช้า 10-20 วัน อักเสบน้อยกว่า เอ็นสังเคราะห์เรียกว่า Dexon
ชนิดที่ไม่ละลายเองได้
ด้าย
ไหม
ใยสังเคราะห์
ลวด
น้ำยาAseptic
ใบมีดพร้อมด้ามมีด
ผ้า Gauze ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
หลักการเย็บแผล
เลือกเข็มเย็บ(cutting)ให้เหมาะสมกับแผล ใช้จับเข็มประมาณ1/3ของเข็มจากด้านโคน
Needle Holder จับให้อยู่ในอุ้งมือ นิ้วหัวแม่มือและนิ้วนางอยู่สอดในด้าม นิ้วชี้อยู่กล้กับจุดหมุนของ Needle Holder
ปักเข็มให้ตั้งฉากกับผิวหนังและต่อจากนั้นให้ปักลงไปตามแนวโค้งของเข็ม จนปลายเสยขั้น
คลาย Needle Holder แล้วให้มาคีบด้านปลายเข็มออกจนพัน
มัดเชือกเงื่อนตาย
ใช้กรรไกรตัดไหมตัดด้ายให้ห่างจากปมประมาณ 0.5 cm และห่างกันแต่ ละช่วงประมาณ1 cm
ลักษณะการเย็บแผล
2.1. การเย็บต่อเนื่องด้วย Running lock stitch
2.2.การเย็บต่อเนื่องด้วยวิธีธรรมดา (plain continuous)
2.3ลักษณะการเย็บแผล แบบอื่นๆ
ปัจจัยที่มีผลทำให้แผลหายช้าลง
การติดเชื้อ การอักเสบ
มีแรงดึงให้แผลแยก
ขาดเลือดไปเลี้ยงแผล
บริเวณแผลเคยได้รับรังสีมาก่อน
ขาดสารอาหาร
Corticosteroid
Diabetes
Uremia > collagent
ข้อพิจารณาในการตัดไหม
1.แผลโดยทั่วไป ใช้เวลา 7 วันตัดไหม
2.แผลบริเวณที่ใช้แรงมาก ทำให้แผลติดช้าหรือไม่แน่ใจว่าแผลติด ใช้เวลา 10 วัน ตัดไหม หรือใช้เวลา 7 วันตัดไหมแต่ตัดแบบตัวเว้นตัวก่อน หรือตัดออกทั้งหมดแต่ติดต่อด้วย strile strips ได้
3.แผลที่ใบหน้า ใช้เวลา 3-5 วันตัดไหม แล้วติดต่อด้วย strile strips เป็นเวลาอีก 5-7-10 วัน ค่อยแกะออก
ถ้าไม่แน่ใจว่าหลังตัดไหมแล้วแผลจะแยก ควรติดด้วย strile strip จนกว่าแผลจะหายดี
นางสาวกัญญารัตน์ อุปพงษ์
นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 24 ห้องB เลขที่ 5