Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน (งูพิษ (การดูแลผู้ที่ถูกงูพิษกัด…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
งูพิษ
พิษต่อโลหิต
งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม้
มีเลือดออกตามที่ต่างๆ ตามผิวหนัง เหงือก อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด
พิษต่อกล้ามเนื้อ
งูทะเล
ปวดกล้ามเนื้อมาก ปัสสาวะสีดำ
พิษระบบประสาท
งูจงอาง งูเห่า งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคลา
เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อ ลืมตาไม่ได้ กลืนลำบาก
พิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
การดูแลผู้ที่ถูกงูพิษกัด
หยุดการเคลื่อนไหวของร่างกาย ปลอบโยน ให้กำลังใจ
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำเกลือทันที ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด ทำเฝือกชั่วคราว
จัดให้อวัยวะที่ถูกกัดอยู่ต่ำกว่าระดับหัวใจ
นำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ให้เร็วที่สุด
สัตว์กัดต่อย
การดูแลผู้ที่ถูกผึ้ง ต่อ แตนต่อย
ในกรณีที่มีเหล็กในติดอยู่ในแผล ต้องเอาเหล็กในออกก่อน
ล้างบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ประคบด้วยน้ำเย็น
ถ้ามีอาการปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวดได้ ถ้ามีอาการมากขึ้นให้นำส่งโรงพยาบาล
แมงกะพรุนกล่อง
ให้ผู้บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ เพื่อลดการยิงพิษจากแมงกะพรุน
ล้างบริเวณที่ถูกพิษด้วยน้ำส้มสายชูบ้าน ความเข้มข้น 2-10 % นานอย่างน้อย 30 วินาที หากไม่มีให้ใช้น้ำทะเล
ใช้ถุงมือหนา หรือแหนบคีบหนวดที่ยังติดอยู่ ห้ามใช้มือหยิบ
ให้ใช้วัสดุขอบเรียบ เช่น เปลือกหอย บัตร สันมีด ขูดเอาเมือกออก
ในกรณีของ แมงกะพรุนกล่อง ให้ใช้น้ำแข็งประคบลดอาการปวด หลังจากที่ล้างด้วยน้ำส้มสายชูแล้วหรือใช้ผักบุ้งทะเลตำพอกที่แผล
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้น้ำจืดล้าง
ห้ามถูหรือขยี้ หลีกเลี่ยงการใช้เทคนิคพันรัดแน่นด้วยผ้ายืด
การปฏิบัติเมื่อถูกแมงป่องต่อย
ล้าง และฟอกบริเวณแผลด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำสะอาด
ใช้แอมโมเนียหอมชุบปิดแผลไว้
ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวดพาราเซตามอล และประคบบริเวณแผลด้วยความเย็น
ถ้ามีอาการแพ้ คือ ไข้สูง ปวดแผลมาก ปวดศีรษะ ควรพาไปพบแพทย์
ได้รับสารพิษ
การพยาบาลเบื้องต้นทางปาก
มีสติ, ไม่เป็นกรด ด่าง รีบทำให้อาเจียน
หมดสติ, กรด ด่าง ห้ามทำให้อาเจียน
การพยาบาลทางเดินหายใจ
เคลื่อนย้ายผู้ที่ได้รับสารพิษไปยังสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ่ายเทสะดวกและห้ามคนมุง
คลายเสื้อผ้าให้หลวม เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ถ้าหยุดหายใจให้รีบช่วยเหลือ
รีบนำส่งโรงพยาบาล
การพยาบาลทางผิวหนัง
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี เพราะความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยาอาจทำให้เกิดอันตรายมากขึ้น
บรรเทาอาการปวดและรักษาภาวะช็อค
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
การบาดเจ็บที่กระดูกและกล้ามเนื้อ
การรักษาเบื้องต้น ภายใน 24-48 ชม.
4 ย. คือ หยุด, เย็น, ยึด และยก หรือ “RICE”
Rest
Ice
Compression
Elevation
PRICED เพิ่ม Protection และ Diagnosis/Disposal
ข้อระวังในช่วงแรกของการบาดเจ็บ (24-48 ชม.แรก)
ใช้หลักการ (No HARM Factor) คือ
H (heat) การใช้ความร้อนประคบ ทำให้บวมและปวดมากขึ้น
A (alcohol) การทายาที่มีฤทธิ์ร้อน
R (running/exercise) การวิ่งหรือทำกิจกรรม จะทำให้บาดเจ็บมากขึ้น
M (massage) การนวดจะยิ่งทำให้เลือดออกและบวมมากขึ้น
มีภาวะเสียเลือด
บาดแผลปิด (closed wound)
ประคบเย็นภายใน 24 ชม. แรก ต่อมาให้ประคบความร้อน
บาดแผลเปิด (open wound)
ใช้ผ้าสะอาดกดลงบนแผลจนกว่าเลือดจะหยุดไหล ถ้าผ้าปิดแผลชุ่มเลือด ไม่ควรเอาออก ให้ใช้ผ้าสะอาดผืนใหม่ปิด
ทำความสะอาดแผล
กระดูกหัก (Fracture)
กระดูกหักชนิดไม่มีบาดแผลหรือชนิดปิด (Closed fracture)
กระดูกหักชนิดมีบาดแผลหรือชนิดเปิด (Open fracture)
การดูแลกระดูกหัก
ระมัดระวังไม่ให้มีการเคลื่อนไหวบริเวณที่มีข้อเคลื่อน หรือกระดูกหัก
ถ้าต้องถอดเสื้อผ้า ต้องตัดตามตะเข็บ อย่าพยายามให้ผู้บาดเจ็บถอดเอง
ถ้าบวมและชามากให้จับชีพจรเปรียบเทียบกับแขนหรือขา ทั้ง 2 ข้างเปรียบกัน
การตรวจบริเวณที่หัก ต้องทำด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทำให้ปลายกระดูกที่หักเคลื่อนมาเกยกัน
ถ้าต้องมีการห้ามเลือด หลีกเลี่ยงวิธีการห้ามเลือดแบบขันชะเนาะ
เพราะถ้ารัดแน่นเกินไป อาจจะทำให้เลือดแดงไปเลี้ยงส่วนปลายไม่พอ
ในรายที่กระดูกหักแบบเปิดให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมทับ แล้วพันไว้
เข้าเฝือกชั่วคราว
ไฟฟ้าดูด
การดูแล
ห้ามจับตัวผู้ป่วยก่อนตัดกระแสไฟ
กำจัดสาเหตุ โดยใช้วัตถุที่เป็นฉนวนเขี่ยสายไฟออก หรือสับสะพานไฟลง
ตรวจชีพจรและการหายใจ
ตรวจดูแผลไหม้
นางสาวกนกวรรณ เหลาพรม เลขที่4 ห้องA รหัส593020110049