Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับปัจจัยการคลอด (Passenger…
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติ
เกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
Power
แรงจากการหดรัดตัว ของมดลูกผิดปกติ
Hypotonic Uterine dysfunction
ลักษณะผิดปกติ
I > 3 นาที
ความแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง
D < 40 วินาที
ข้อวินิจฉัย
มีโอกาสเกิดการคลอดยาวนาน
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยากระตุ้นมดลูก
มีโอกาสตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
ประเมินซ้ำว่าเข้าสู้ระยะปากมดลูกเปิดเร็วจริง
กระตุ้นให้ลุกเดินในกรณีที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
จัดท่าศีรษะสูงหรือนอนตะแคง
กระตุ้นให้ปัสสาวะหรือสวนปสสาวะ
Hypertonic uterine dysfunction
มดลูกหหดรัดตัวไม่ประสานกัน
ความผิดปกติ
ในระยะพักกล้ามเนื้อมดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
มดลูกหดรัดตัวแรงและถี่แต่ไม่สม่ำเสมอ
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
บนรอยคอดของทารก
ความผิดปกติ
ส่วนมากจะเกิดเหนือปากมดลูกประมาณ 7-8 cm.
อาจเกิดขึ้นหลังคลอด ซึ่งทำให้รกค้าง
หดรัดตัวไม่คลายเฉพาะที่จนเกิดเป็นวงแหวน
รอบตำแหน่งคอดบนตัวทารก
อาจเกิดการคลอดผิดปกติ จะต้อง C/S
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
ความผิดปกติ
D > 90 วินาที
I < 90 วินาที
ระยะพักจะสั้นมาก
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้าได้รับยาออกซิโทซิน ให้หยุดยาทันที
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจนแคนูลา 4 ลิตรต่อนาที
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที
การคลอดเร็วเฉียบพลัน
ความผิดปกติ
ใช้เวลาคลอด < 3 hr.
ปากมดลูกเปิด 5 cm./hr.
การพยาบาล
งดยาออกซิโทซินและให้ยาคลายการหดรัดตัวของมดลูก
กางขาผู้คลอดออกและรับทารก
โดยใช้ผ้าสะอาดกดศีรษะให้ก้มมากที่สุด
แรงจากการเบ่ง
การเบ่งเป็นเวลานาน
เกิดภาวะขาดน้ำ
หมดแรงอ่อนเพลีย
เกิดภาวะเลือดเป็นกรด
เนื่องจากกล้ามเนื้อมีการทำงานมาก
แรงเบ่งน้อย
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะขับคันหรือขาดออกซิเจน
การคลอดระยะที่ 2 ยาวนาน
Passages
ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วน
กับเชิงกรานมารดา
การช่วยเหลือ
กรณีแบบกำกึ่ง ถ้าการคลอดไม่ก้าววหน้า
ต้องผ่าตัดทางหน้าท้องทันที
ผ่าตัดทางหน้าท้อง
ผลต่อมารดาและทารก
มารดาอ่อนเพลียเกิดภาวะขาดน้ำ
ถุงน้ำทูนหัวแตกก่อนเวลา
หนทางคลอดอ่อนฉีกขาดมาก
มดลูกแตก
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
และได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
ความผิดปกติของหนทางคลอดอ่อน
ปากมดลูก
ด้านหน้าบวม
เกิดจาก CPD
การเบ่งก่อนเวลา
ตรวจพบปากมดลูกรอบศีรษะทารกบวม มีขอบแข็ง เป็นมันใสสีแดงคล้ำ
ช่องคลอดตีบ
ผิดปกติแต่กำเนิดหรือฉีกขาดของช่องคลอดแล้วไม่ได้เย็บ
การช่วยเหลือ
รายที่ช่องคลอดตีบมาก อาจต้อง C/S
ถ้าเป็นรอยแผลเป็นช่องคลอดตีบเล็กน้อย
อาจใช้มีดกรีดผานรอยแผลเป็นให้ผนังช่องคลอดเปิดขยาย
ภาวะคอมดลูกแข็ง
ตรวจพบว่าคอมดลูกแข็ง บางตึงแนบกับศีรษะทารก
แต่ยืดขยายออกไม่ได้และปากมดลูกเป็นรูเล็ก
มดลูกหดรัดตัวปกติ แต่ปากมดลูกไม่เปิดหรือเปิดช้า
ถ้าเกิดขึ้นนานปากมดลูกอาจบวมได้
ช่องคลอดมีผนังกั้นกลาง
เมื่ิอเบ่งแล้วการคลอดไม่ก้าวหน้าและพบว่ามีแผ่นเนื้อ
การช่วยเหลือ
ถ้าผนังไม่หนา ตัดให้ขาดแล้วเย็บหลังทารกคลอดแล้ว
ถ้าผนังหนามากให้ผ่าท้องคลอด
ความผิดปกติของช่องเชิงกราน
เชิงกรานรูปวิปริต
อาจเป็นมาแต่กำเนิดหรือเกิดขึ้นในภายหลัง
อาจเกิดจากโรคหรือขาดสารอาหาร
พบได้น้อยมาก
เชิงกรานหักหรือแตก
เกิดจากอุบัติเหตุ
กระดูกชิ้นที่หักบ่อยคือ Pubic Rami
ต้องทำการ C/S
เชิงกรานแคบ
แคบช่องกลาง
transverse diameter แคบกว่า 9 ซม
Anteroposterior diameter สั้นกว่า 12 ซม
Posterior sagittal diameter สั้นกว่า 5 ซม
คลอดยาวนาน คลอดยากหรือหยุดชะงักในระยะ 1,2
แคบช่องออก
Pubic arch < 85 องศา
Intertuberous diameter สั้นกว่า 8 ซม
Posterior sagittal diameter สั้นกว่า 7-8 ซม
คลอดยากของศีรษะและไหล
แคบช่องเข้า
Diagonal conjuate ขอบล่างถึง Sacral promontory ยาว<13 ซม
คลอดยาวนาน คลอดยากหรือหยุดชะงักในระยะ 1,2
True conjuate ขอบบนถึง Sacral promontory ยาว< 11 ซม
แคบทุกส่วน
คลอดยากทุกระยะของการคลอด
มดลูดหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
Passenger
ความผิดปกติเกี่ยวกับทรง
ผลต่อการคลอด
ใบหน้าเป็นส่วนนำ
ถ้าใบหน้าเป็นส่วนนำและคางเฉียงหลังและมีขนาดเล็กมาก เชิงกรานกว้างมากอาจคลอดได้โดยคางคลอดผ่านฝีเย็บออกมาก่อนจากนั้นศีรษะจะก้ม
ต้องใช้คีมช่วยคลอด
หน้าผากเป็นส่วนนำ
คลอดยาวนานและหยุดชะงักลง
คลอดทางช่องคลอดได้ถ้าทารกมีขนาดเล็กมาก
ขม่อมหน้าเป็นส่วนนำ
คลอดยาวนานระยะ 1, 2 ของการคลอด
คลอดทางช่องคลอดได้ถ้าไมีมีปัญหาเชิงกรานแคบและมดลูกหดรัดตัว
ความผิดปกติเกี่ยวกับท่า
ท่าไหล่
ส่วนนำผสม
การพลัดต่ำของส่วนของแขน ขา ของทารกยื่นลงมา
พร้อมกับส่วนนำของทารก
มักพบในรายที่ศีรษะทารกไม่เข้า เชิงกราน ส่วนนำผสม
ครรภ์แฝด หญิงที่เคยมีบุตรมาหลายคน
ท่าก้น
ความผิดปกติเกี่ยวกับการหมุนของส่วนนำ
ท่าคงอยู่หลัง
มีรอยแสกกลางของศีรษะทารกอยู่แนวขวาง
ไม่มีการหมุนเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
ผลต่อการคลอด
คลอดยาวนานระยะ 1 และ 2 ของการคลอด
ช่วยคลอดด้วยคีม Elliot, Kielland
เครื่องดูดสูญญากาศหรือผ่าตัดคลอด กรณีศีรษะหมุนไม่ได้
ท่าท้ายทอยเฉียงหลัง(LOP) อยู่หลัง(OP)และคงอยู่หลัง(OPP)
ผลต่อการคลอด
คลอดเอง ถ้าทารกตัวไม่โตและส่วนหลังเชิงกรานกว้าง
คลอดเองไม่ได้ใช้การช่วยคลอดด้วยมือหมุนหรือคีมคีบหรือเครื่องดูดสุญญากาศ
คลอดยาวนาน คลอดยากหรือหยุดชะงัก
ระยะปากมดลูดเปิดเร็วและระยะ 2การคลอด
ทารกมักจะหมุนจนท้ายทอยมาอยู่ด้านหน้าและคลอดในท่าปกติ
ทารกมีพัฒนาการผิดปกติ
แฝดติดกัน
การดูแลรักษา
แฝดจำนวนมากจะคลอดได้
แฝดที่มีขนาดใหญ่ จะต้อง C/S
ส่วนใหญ่ถ้าทราบล่วงหน้าว่าทารกเป็นแฝดติดกันจะ C/S
มารกหัวบาตร
มีการคั่งของน้ำหล่อไขสันหลังใน vertricles มากเกินไป
การดูแลรักษา
กรณีศีรษะเป็นส่วนนำ ให้ลดขนาดศีรษะลง
โดยการใช้smellie scissor เจาะเอาน้ำไขสันหลังออก
กรณีท่าก้นสามารถลดขนาดศีรษะทารก
โดยใช้metal catheter เจาะผ่าน spinal canal
ทารกท้องใหญ่
สาเหตุ
เกิดจากมีน้ำในท้อง ในกระเพาะปัสสาวะ
อวัยวะภายในช่องท้องบวมโต เช่น ตับ ม้าม ไต
เป็นเนื้องอกของอวยวะภายในช่องท้อง
การช่วยเหลือ
ก่อนคลอด ต้องเจาะท้องเอาน้ำออกโดยการเจาะผ่านทางหน้าท้อง
ผู้คลอดไปยังทารกและดูดเอาน้ำออก
ทารกมีขนาดตัวโตมากเกินไป
(นน. > 4,000 g.)
ผลกระทบ
คลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดติดขัด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีทั้งระยะคลอดและหลังคลอด
หรทางคลอดอ่อนฉีกขาด มีการแยกของกระดูกหัวเหน่า
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
Psychology
สาเหตุ
เหตุการณ์ที่ไม่เป็นไปตามที่รับรู้หรือมีประสบการณ์มาก่อน
ความกลัวว่าและบุตรในครรภ์จะได้รับบาดเจ็บจากการคลอดหรือ พิการได้
กลัวความเจ็บปวดจากการคลอด
สิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล
กลัวสิ่งที่ไม่รู้หรือรับรู้มาในสิ่งที่ไมถูกต้อง
สภาวะที่ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังทั้งการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
หรือเกินกำหนด
ประสบการณ์เจ็บปวดในอดีต
บทบาทของพยาบาล
ความรู้สึกเอาใจเขามาใส่ใจเราและความเข้าใจ
ความเคารพและเอื้ออาทร