Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน (สัตว์กัดต่อย (แมงกะพรุนกล่อง (Box…
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
สัตว์กัดต่อย
ผึ้ง ต่อ แตน
การดูแล
ล้างบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ประคบด้วยน้ำเย็น
กรณีที่มีเหล็กในติดอยู่ในแผลต้องเอาออก
ปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวด
แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish)
เวียนหัว คลื่นไส้
กระสับกระส่าย
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีพิษต่อหลายระบบในร่างกาย
การดูแล
ล้างบริเวณที่ถูกพิษด้วยน้ำส้มสายชูบ้าน
ให้ใช้วัสดุขอบเรียบขูดเอาเมือกออก
ให้ผู้บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ
ใช้น้ำแข็งประคบลดอาการปวด
งูพิษ
พิษต่อกล้ามเนื้อ [Myotoxin]
งูทะเล
ปวดกล้ามเนื้อมาก
ปัสสาวะสีดำ
พิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ [Cardiotoxin]
พิษต่อโลหิต [Hemotoxin ]
งูเขียวหางไหม้
งูแมวเซา งูกะปะ
เลือดออกตามที่ต่างๆ
การดูแล
หยุดการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ปิดแผล
จัดให้อวัยวะที่ถูกกัดอยู่ต่ำกว่าระดับหัวใจ
นำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
พิษต่อระบบประสาท [Neurotoxin]
อัมพาตของกล้ามเนื้อ
งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคลา
งูจงอาง งูเห่า
กลืนลำบาก
ลืมตาไม่ได้
หยุดหายใจเสียชีวิต
แมงป่อง ตะขาบ
ปวด บวม และแดง
แพ้อาจมีไข้
ปวดศีรษะ
การปฏิบัติ
ล้างบริเวณแผลด้วยสบู่
ใช้แอมโมเนียหอมชุบปิดแผลไว้
ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวด/ประคบเย็น
ถ้ามีอาการแพ้ควรพาไปพบแพทย์
ได้รับสารพิษ
สารพิษทางเดินหายใจ
การพยาบาลเบื้องต้น
เคลื่อนย้ายผู้ที่ได้รับสารพิษไปยังสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์
คลายเสื้อผ้าให้หลวม เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
รีบนำส่งโรงพยาบาล
สารพิษทางผิวหนัง
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาภาวะช็อค
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
การพยาบาลเบื้องต้น
สารพิษทางปาก
กรณีผู้ป่วยหมดสติ
ถ้ายังไม่ทราบชนิดของสารพิษที่แน่ชัด
ห้ามทำให้ผู้ป่วยอาเจียนโดยเด็ดขาด
กรณีผู้ป่วยมีสติ
ให้ผู้ป่วยดื่มนมหรือน้ำเปล่าเพื่อให้พิษเจือจาง
ทำให้ผู้ป่วยอาเจียนเอาสารพิษออก