Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร (กิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญ…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร
Anorexia nervosa
เกณฑ์การวินิจฉัย
A. การจำกัดปริมาณพลังงานที่สัมพันธ์กับความต้องการ
B. ความกลัวที่เพิ่มขึ้นของการเพิ่มน้ำหนัก
C. การขาดการรับรู้ถึงความร้ายแรงของน้ำหนักตัวต่ำในปัจจุบัน
ชนิด
Binge eating/purging type
มีพฤติกรรมการรับประทานครั้งละมากๆ หรือขับอาหารออกจากร่างกาย
Restricting type
ไม่มีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือมีการขับอาหารออกจากร่างกาย
Bulimia nervosa
เกณฑ์การวินิจฉัย
A.ในช่วงที่มีการรับประทานอาหารมากขึ้น
การรับประทานในระยะเวลาที่ไม่ต่อเนื่อง
ความรู้สึกขาดการควบคุมการกินในแต่ละช่วง
B. พฤติกรรมการชดเชยที่ไม่เหมาะสมเกิดขึ้นซ้ำ ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นเช่นการอาเจียน
C. การกินและพฤติกรรมการชดเชยที่ไม่เหมาะสมทั้งคู่
D. การประเมินตนเองนั้นได้รับอิทธิพลจากรูปร่างและน้ำหนักอย่างไม่เหมาะสม
E. ความผิดปกติไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในช่วงที่มีอาการ
ชนิด
Purging type
ทำให้ตนเองอาเจียน ใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ ยาสวนถ่าย
Nonpurging type
จะมีพฤติกรรมเพื่อชดเชยการกินมากที่ไม่เหมาะสม เช่น การอดอาหาร หรือออกกำลังกายอย่างหักโหม แต่ไม่มีการทำให้ตนเองอาเจียน
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีววิทยา
พันธุกรรม
ปริมาณของสารสื่อประสาทหลายชนิดในน้ำไขสันหลังผิดปกติ
ปัจจัยทางจิตสังคม
พัฒนาการทางด้านจิตใจ
มีบุคลิกลักษณะแบบย้ำคิดและเป็นคนที่สมบูรณ์แบบ
สื่อมวลชนและแฟชั่น
การบำบัดรักษา
Psychopharmacology
ยารักษาอาการเศร้า ชนิด Tricyclics และ SSRIs ใช้ได้ดีทั้งผู้ป่วยที่มีหรือไม่มีอาการซึมเศร้า
Milieu therapy
สิ่งแวดล้อมต้องคำนึงถึงความปลอดภัย สนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมบำบัด
Psychotherapy
มุ่งให้ผู้ป่วยรู้ถึงความสัมพันธ์ทางจิตใจกับปัญหาการกินที่ผิดปกติ
Family therapy
ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพที่ดี มีการส่งเสริมให้กำลังใจซึ่งกันและกัน และร่วมกันวางแผนการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมในครอบครัว
Behavior therapy
เป็นการปรับพฤติกรรมการกินอาหารของผู้ป่วยให้เป็นไปตามปกติ
กิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญ
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อถือและไว้วางใจ
ประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ดูแลอาหารและการรับประทานของผู้ป่วย
สังเกตพฤติกรรมการกิน และการชดเชยการกินที่เพิ่มมากขึ้น
ควบคุมดูแลการทำกิจกรรม
ประสานงานกับนักโภชนากร ผู้ป่วยและครอบครัวในการวางแผนการจัดอาหาร
ส่งเสริมและให้กำลังใจผู้ป่วยในเข้าร่วมการบำบัดรักษา
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พูดแสดงความคิดความรู้สึกเกี่ยวกับรูปร่างและการมองภาพลักษณ์ของตนเอง
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเห็นคุณค่าในตนเอง
เสริมสร้างให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการตัดสินใจ
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลสุขภาพและการปรับตัวต่อการอยู่ร่วมกัน
น.ส.ธิดาวรรณ สุนารักษ์ เลขที่22 ห้อง B