Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) (ยารักษาอาการชัก…
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology)
ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant Drugs)
Clonazepam (Klonopin) Tablets 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
Primidone (Mysoline) Tablets 50 mg, 250 mg
Phenytoin (Dilantin) Suspension 30 mg/5 ml, 125 mg/5 ml Chewable tablets 50 mg Capsule 30 mg, 100 mg Injection 50 mg/ml
Carbamazepine (Tegretol) Tablets 200 mg
Valproic Acid (Depakene) Capsule 250 mg
Syrup 250 mg/5 ml
ผลข้างเคียงของยา
อาจมีอาการเหงือกบวม คลื่นไส้ ผื่นแดง ง่วง มึนงง ซึม ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ยาคลายกังวล (Antianxiety Drugs/ Anxiolytic Drugs/Minor Tranquillizers)
ยากลุ่ม Benzodiazepines
Long Acting >24 ชั่วโมง
1.2 Dipotassium Clorazepate (Tranxene, Trancon) 3.75 mg, 7.5 mg, 15 mg
1.3 Diazepam (Valium) 2 mg, 5 mg, 10 mg
1.1 Chlordiazepoxide (Librium) 5 mg, 10 mg, 25 mg
Intermediate Acting ประมาณ 10-20 ชั่วโมง
2.2 Lorazepam (Ativan, Loramed) 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
2.1 Alprazolam (Xanax) 0.25 mg, 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
Short Acting ออกฤทธิ์เร็วมาก ส่วนใหญ่เป็นยานอนหลับ
3.2 Midazolam (Dormicum) 7.5 mg, 15 mg
3.1 Trizolam (Halcion) 0.125 mg, 0.25 mg, 0.5 mg
ผลข้างเคียงของยาและการพยาบาล
ง่วงนอน
เดินเซ
ข้อ 1 และ 2 แนะนำผู้ป่วยไม่ให้ขับรถในระยะที่ใช้ยานี้ หรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกลต้องระมัด ระวัง เพราะยาอาจทำให้เกิดอาการเชื่องช้า จะเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้
หลงลืมเหตุการณ์ช่วงใกล้ๆ ที่เกิดขึ้นก่อนการใช้ยา แต่เหตุการณ์ในอดีตจำได้ (Anterograde amnesia) ให้ข้อมูลกับผู้ป่วยว่าอาจมีหลงลืมได้บ้าง
ทาให้เกิดอาการติดยาและดื้อยาได้
แนะนาผู้ป่วยว่าควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
อาการทางพฤตกรรม
คอยสังเกตอาการและใช้การช่วยเหลือผู้ป่วย
5.1 Disinhibition Syndrome เป็นอาการที่ผู้ได้รับยา กล้าแสดงพฤติกรรมหรือพูดในสิ่งไม่ควรหรือไม่เคยทำมาก่อน
5.2 Paradoxical Excitement อาการที่ได้รับยา มีพฤติกรรมวุ่นวาย อาละวาดก้าวร้าว แทนที่จะง่วงซึมหรือสงบ โยเฉพาะในผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีอาการทางสมอง (Organic Brain Syndrome)
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-Stabilizing Drugs/Antimanic Drugs)
Lithium Carbonate (Eskalith, Lithane, Lithonate)
Lithium Citrate (Cibalith-s)
ผลข้างเคียงของยา
Early Side Effects เป็นอาการที่เกิดขึ้นในช่วงแรกที่ได้ยา
ระบบทางดินอาหารถูกรบกวน
คลื่นไส้ อาเจียน
เบื่ออาหาร
ปวดท้อง ท้องเสีย
กล้ามเนื้ออ่อนแรงและอ่อนเพลีย
มือสั่น โดยเฉพาะเวลาเขียนหนังสือ
ปากแห้ง กระหายน้ำ
Late Side Effects เป็นอาการที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาเป็นเวลานาน
บวมและมีน้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น จากการเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
อาจมีภาวะแทรกซ้อนของ Hypothyroidism หรือ Goiter
ระหายน้ำและปัสสาวะบ่อยมากกว่าระยะแรก
Leukocytosis
อาการมือสั่น
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระดับความเป็นพิษของลิเทียมและการช่วยเหลือ
ระดับเป็นพิษปานกลาง (Serum Lithium 1.5-2.0 mEq/L)
มี Lithium สูงจนเกิดอาการเป็นพิษ ระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง อาการข้างเคียงที่พบ เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง มึนศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง พูดไม่ชัด ผิดปกติในการเคลื่อนไหว เดินเซ ตาพร่ามัว และหูอื้อ
-อาจจะปฏิบัติเหมือนข้อ 1 หรือข้อ 3 อยู่ที่ความรุนแรงของอาการ
ระดับเป็นพิษรุนแรง (Serum Lithium 2.0-2.5 mEq/L)
มี Lithium สูงจนเกิดอาการเป็นพิษ ระดับปานกลางถึงรุนแรงอาการข้างเคียงที่พบ เช่น ท้อเสีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ และอาเจียนตลอด แขนขากระตุกเป็นระยะ จนถึงแสดงอาการชัก สับสนมาก การทำงานของหัวใจผิดปกติ เป็นลม หมดสติ
-หยุดยาทันที ถ้าผู้ป่วยยังรู้สึกตัวให้ยาแก้อาเจียน และทำ Gastric lavage
1.ระดับเฝ้าระวัง (Serum Lithium 1.2-1.5 mEq/L)
อาการข้างเคียงที่พบ เช่น มือสั่น ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ ท้องเสีย ปวดท้องและอ่อนเพลีย ซึ่งอาจจะไม่รุนแรง
-ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อไป ให้ข้อมูลกับผู้ป่วยว่าเป็นผลข้างเคียงของยาที่พบได้ในระยะ 1-2 สัปดาห์แรกที่ได้รับยาติดตามประเมิน Serum Lithium เป็นระยะ
ระดับอันตราย (Serum Lithium > 2.5 mEq/L)
มี Lithium สูงจนเกิดอันตรายถึงชีวิต อาการสำคัญได้แก่ การทำงานของหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตต่ำมาก ไข้สูง ไม่รู้สึกตัว มีอาการชัก ปัสสาวะออกน้อย และการทำงานของไตล้มเหลว
-ปฏิบัติเหมือนข้อ 3 และเตรียมทา Hemodialysis
ยาลดาการข้างเคียงของยาทางจิตเวช (Anticholinergic Drugs/Antiparkinson Drugs)
Benztropine (Cogentin) 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
Dipenhydramine (Benadryl) 25 mg
Trihexyphenidyl (Aca, Artane, Benzhexol) 2 mg, 5 mg
Biperidan (Akineton) 2 mg, 6 g
ผลข้างเคียงของยา
Anticholinergic effect เช่น ปากแห้ง ตาพร่า ท้องผูก อาจมีปัสสาวะลำบากในผู้สูงอายุ
คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง
Sedation, Drowsiness และ Dizziness
Orthostatic Hypotension
Anticholinergic Delirium อาการสำคัญ คือ สับสน ไม่รู้วัน เวลา สถานที่ หรือแสดงอาการทางจิต
การพยาบาล
ควรให้รับประทานยาหลังอาหารทันทีเพื่อป้องกันการรบกวนกระเพาะอาหาร
ควรสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้ยา เช่น การทรงตัว การพูด และความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วย
อธิบายคุณสมบัติของยาและวิธีรับประทานยาว่า ควรรับประทานเมื่อใด หากไม่มีอาการไม่จ้าเป็นต้องรับประทาน
ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้จากาการ ตามัว เดินเซ เดินไม่ตรงทาง เป็นต้น
สังเกตและประเมินผลหลังให้ยา เพื่อจะได้ช่วยเหลือทันทีที่มีปัญหา
รายงานแพทย์ทันที่พบปัญหาที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับยา
ควรให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติ
7.1 ดื่มน้ำให้เพียงพอหรืออมลูกอมเพื่อลดอาการปากแห้ง
7.2 ควรหลีกเลี่ยงการขี่พาหนะ การควบคุมเครื่องจักร เพราะผู้ป่วยมักง่วงนอน และตาพร่า
7.3 ควรรายงานอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้น
7.4 ตรวจร่างกายสม่ำเสมอ โดยเฉพาะตรวจตา
7.5 ควรหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และลดอาหารที่มีโปรตีนสูง