Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) (ยาควบคุมอารมณ์ (Mood…
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช
(Psychopharmacology)
ยาคลายกังวล (Antianxiety Drugs/ Anxiolytic Drugs/Minor Tranquillizers) กลุ่ม Benzodiazepines แบ่งตาม Elimination Half Life
ได้แก่
Long Acting >24 hr
1.1 Chlordiazepoxide (Librium) 5 mg, 10 mg, 25 mg
1.2 Dipotassium Clorazepate (Tranxene, Trancon) 3.75 mg, 7.5 mg, 15 mg
1.3 Diazepam (Valium) 2 mg, 5 mg, 10 mg
Intermediate Acting ~ 10-20 hr
2.1 Alprazolam (Xanax) 0.25 mg, 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
2.2 Lorazepam (Ativan, Loramed) 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
Short Acting ออกฤทธิ์เร็วมาก ส่วนใหญ่เป็นยานอนหลับ
3.1 Trizolam (Halcion) 0.125 mg, 0.25 mg, 0.5 mg
3.2 Midazolam (Dormicum) 7.5 mg, 15 mg
ผลข้างเคียงของยาและการพยาบาล
ง่วงนอน: แนะนำไม่ให้ขับรถในระยะที่ใช้ยานี้ หรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกลต้องระวัง ยาอาจทำให้เกิดอาการเชื่องช้า
เดินเซ: เหมือน 1
หลงลืมเหตุการณ์ช่วงใกล้ๆ ที่เกิดขึ้นก่อนการใช้ยา แต่เหตุการณ์ในอดีตจำได้ (Anterograde amnesia): ให้ข้อมูลว่าอาจมีหลงลืมได้บ้าง
เกิดการติดยาและดื้อยาได้: แนะนำว่าควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
อาการทางพฤติกรรม 5.1 Disinhibition Syndrome กล้าแสดงพฤติกรรม/พูดสิ่งไม่ควร/ไม่เคยทำมาก่อน 5.2 Paradoxical Excitement มีพฤติกรรมวุ่นวาย อาละวาดก้าวร้าว แทนที่จะง่วงซึม/สงบ โยเฉพาะในผู้สูงอายุ/ผู้ที่มีอาการทางสมอง (Organic Brain Syndrome): Obs.อาการและใช้การช่วยเหลือผู้ป่วย
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-Stabilizing Drugs/Antimanic Drugs)
ได้แก่
Lithium Carbonate (Eskalith, Lithane, Lithonate)
Lithium Citrate (Cibalith-s)
ผลข้างเคียงของยา
Early Side Effects เป็นอาการที่เกิดขึ้นในช่วงแรกที่ได้ยา
1.1 ระบบทางเดินอาหารถูกรบกวน เช่น N/V เบื่ออาหาร ปวดท้อง ท้องเสีย
1.2 กล้ามเนื้ออ่อนแรงและอ่อนเพลีย
1.3 มือสั่น โดยเฉพาะเวลาเขียนหนังสือ
1.4 ปากแห้ง กระหายน้ำ
Late Side Effects เป็นอาการที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาเป็นเวลานาน
2.1 มือสั่น
2.2 กระหายน้ำและปัสสาวะบ่อยกว่าระยะแรก
2.3 บวมและน้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น จากการเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
2.4 อาจมีภาวะแทรกซ้อนของ Hypothyroidism หรือ Goiter
2.5 Leukocytosis
2.6 หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระดับความเป็นพิษของลิเทียมและการช่วยเหลือ
ระดับเฝ้าระวัง (Serum Lithium 1.2-1.5 mEq/L) เป็นระดับที่มี Lithium สูงสุดที่มีผลในการรักษา SE. มือสั่น ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ ท้องเสีย ปวดท้องและอ่อนเพลีย อาจจะไม่รุนแรง: ให้ทานยาต่อไป ให้ข้อมูลว่าเป็นSE.ของยาที่พบในระยะ 1-2 week แรกที่ได้รับยา ติดตามประเมิน Serum Lithium เป็นระยะ
ระดับเป็นพิษปานกลาง (Serum Lithium 1.5-2.0 mEq/L) เป็นระดับที่มี Lithium สูงจนเกิดอาการเป็นพิษ ระดับเล็กน้อย-ปานกลาง SE. ปวดท้อง ท้องเสีย N/V ปากแห้ง มึนศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง พูดไม่ชัด การเคลื่อนไหวผิดปกติ ตาพร่ามัว และหูอื้อ: อาจปฏิบัติเหมือนข้อ 1 /ข้อ 3 อยู่ที่ความรุนแรงของอาการ
ระดับเป็นพิษรุนแรง (Serum Lithium 2.0-2.5 mEq/L) เป็นระดับที่มี Lithium สูงจนเกิดอาการเป็นพิษ ระดับปานกลาง-รุนแรงอาการ SE.ท้อเสีย เบื่ออาหาร N/V ตลอด แขนขากระตุกเป็นระยะ จนชัก สับสนมาก HF เป็นลม หมดสติ: หยุดยาทันที ถ้ายังรู้สึกตัวให้ยาแก้อาเจียน และทำ Gastric lavage
ระดับอันตราย (Serum Lithium > 2.5 mEq/L) เป็นระดับที่มี Lithium สูงจนเกิดอันตรายถึงชีวิต อาการสำคัญได้แก่ HF BP ต่ำมาก ไข้สูง ไม่รู้สึกตัว ชัก ปัสสาวะออกน้อย การทำงานของไตล้มเหลว: ปฏิบัติเหมือนข้อ 3 และเตรียมทำ Hemodialysis
ยาลดอาการข้างเคียงของยาทางจิตเวช (Anticholinergic Drugs/Antiparkinson Drugs)
ได้แก่
Trihexyphenidyl (Aca, Artane, Benzhexol) 2 mg, 5 mg
Benztropine (Cogentin) 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
Dipenhydramine (Benadryl) 25 mg
Biperidan (Akineton) 2 mg, 6 g
ผลข้างเคียงของยา
Anticholinergic effect เช่น ปากแห้ง ตาพร่า ท้องผูก อาจมีปัสสาวะลำบากในผู้สูงอายุ
คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง
Sedation, Drowsiness และ Dizziness
Orthostatic Hypotension
Anticholinergic Delirium อาการสำคัญ คือ สับสน ไม่รู้วัน เวลา สถานที่ หรือแสดงอาการทางจิต
การพยาบาล
อธิบายคุณสมบัติของยาและวิธีรับประทานยาว่าควรรับประทานเมื่อใด หากไม่มีอาการไม่จ้าเป็นต้องรับประทาน
ควรให้รับประทานยาหลังอาหารทันทีเพื่อป้องกันการรบกวนกระเพาะอาหาร
ควรสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้ยา เช่น การทรงตัว การพูด และความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วย
ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้จากาการ ตามัว เดินเซ เดินไม่ตรงทาง
สังเกตและประเมินผลหลังให้ยา เพื่อจะได้ช่วยเหลือทันทีที่มีปัญหา
รายงานแพทย์ทันที่พบปัญหาที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับยา
ควรให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติ ดังนี้
7.1 ดื่มน้ำให้เพียงพอ/อมลูกอมเพื่อลดอาการปากแห้ง
7.2 ควรหลีกเลี่ยงการขี่พาหนะ การควบคุมเครื่องจักร เพราะผู้ป่วยมักง่วงนอน และตาพร่า
7.3 ควรรายงานอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้น
7.4 ตรวจร่างกายสม่ำเสมอ โดยเฉพาะตรวจตา
7.5 ควรหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และลดอาหารที่มีโปรตีนสูง
ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant Drugs)
ได้แก่
Valproic Acid (Depakene) Capsule 250 mg Syrup 250 mg/5 ml
Phenytoin (Dilantin) Suspension 30 mg/5 ml, 125 mg/5 ml Chewable tablets 50 mg Capsule 30 mg, 100 mg Injection 50 mg/ml
Clonazepam (Klonopin) Tablets 0.5 mg, 1 mg, 2 mg
Primidone (Mysoline) Tablets 50 mg, 250 mg
Carbamazepine (Tegretol) Tablets 200 mg
ผลข้างเคียงของยา
อาจมีเหงือกบวม คลื่นไส้ ผื่นแดง ง่วง มึนงง ซึม ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง