Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) (ยารักษาอาการซึมเศร้า…
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช
(Psychopharmacology)
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant Drugs)
กลุ่ม Tricyclic Antidepressants (TCAs)
Imipramine (Tofranil) 10 mg, 25 mg, 50 mg
Amitriptyline (Tryptanol) 10 mg, 25 mg, 50 mg
Nortriptyline (Aventyl, Nortrilen, Pamelor) 10 mg, 25 mg
Clomipramine (Anafranil) 10 mg, 25 mg, 50 mg
Doxepin (Sinequan) 25 mg
Maprotiline (Ludiomil) 10 mg, 25 mg
กลุ่ม Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
Aurorix (Moclobemide) 150 mg, 300 mg
Phenelzine (Nardil) 15 mg
Tranylcypromine (Parnate) 10 mg
Isocarboxazid (Marplan) 10 mg
กลุ่ม Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
Floxetine (Prozac) 20 mg
Fluvoxamine (Faverin, Luvox) 50 mg, 100 mg
Paroxetine (Paxil, Seroxat) 10 mg, 20 mg, 30 mg, 40 mg
Sertraline (Zoloft) 25 mg, 50 mg 100 mg
Citalopram (Celexa, Cipram) 10 mg, 20 mg, 40 mg
กลุ่ม New Generation
Mianserin (Tolvon, Tolimed) 10 mg, 30 mg
Trazodone (Desirel) 50 mg, 100 mg, 150 mg
Tianeptine (Stablon) 12.5 mg
Bupropion (Quomen) 150 mg
Venlafaxian (Efexor-XR) 75 mg, 150 mg
Mirtazapine (Remeron) 30 mg
Maprotiline (Ludiomil) 10 mg, 25 mg, 75 mg
Side Effect และการพยาบาล
SE. ที่เกิดขึ้นได้กับยารักษาอาการซึมเศร้าทุกกลุ่ม
1.1ปากแห้ง: แนะนำอมก้อนน้ำแข็ง/จิบน้าบ่อยๆ
1.2 ง่วงซึม เมื่อได้รับยา Amitriptyline และ Mianserin: แพทย์อาจให้เป็นยาก่อนนอนและแนะนำผู้ป่วย อย่าขับรถ/ทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร
1.3 คลื่นไส้: ทานยาพร้อมอาหารเพื่อลดอาการระคายเคืองของกระเพาะอาหาร
SE. ที่เกิดได้กับยากลุ่ม TCAs
2.1 ตาพร่า: ให้ความมั่นใจว่าอาการจะหายไปหลังจากได้รับยา 2-3 สัปดาห์แนะนำอย่าขับรถจนกว่าจะดีขึ้นระวังการพลัดตกหกล้ม
2.2 ท้องผูก: แนะนำทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำเพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ออกกำลังกาย
2.3 ปัสสาวะลำบาก: แนะนำให้Pt.รายงานแพทย์เมื่อปัสสาวะลำบาก จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุล หาวิธuทำให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
2.4 BPต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ: แนะนำPt.ลุกขึ้นอย่างช้าๆจากท่านอนเป็นท่านั่ง/ท่านั่งเป็นท่ายืน วัดBPท่านอนและท่ายืนเปรียบเทียบกัน
2.5 มีโอกาสชักง่ายขึ้นในรายที่เป็นโรคลมชัก: Obs.รายที่มีประวัติโรคลมชักอย่างใกล้ชิด
2.6 น้ำหนักเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ Amitriptyline: แนะนำเกี่ยวกับทานอาหารและให้ออกกำลังกาย
SE. ที่เกิดได้กับยากลุ่ม SSRIs
3.1 นอนไม่หลับ: แนะนำให้ทานยาตอนเช้า หลีกเลี่ยงอาหาร และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน สอนเทคนิคคลายเครียด
3.2 ปวดศีรษะ: รายงานให้แพทย์
3.3 น้ำหนักลด: ให้ทานอาหารเพียงพอกับความต้องการ
3.4 ความต้องการทางเพศลดลง: ให้พูดความรู้สึก รายงานแพทย์เพื่อให้การช่วยเหลือ
3.5 Serotonin syndrome จาก Serotonin activity มาก ทำให้ N/V ท้องเสีย ปวดท้อง BPไม่สม่ำเสมอ เดินเซสับสน กระวนกระวาย T ในร่างกายสูง HRเต้นเร็ว อาจหมดสติได้: หยุดให้ยาทันที รายานแพทย์ทราบ
SE. ที่เกิดได้กับยากลุ่ม MAOIs BPสูงอย่างเฉียบพลัน (Hypertensive crisis) มีBPสูงร่วมกับอาการปวดศีรษะ ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ เจ็บหน้าอก
แนะนำหลีกเลี่ยงการทานอาหารที่มีสาร Tyramine หยุดให้ยาทันทีทรายงานแพทย์ วัดฺBPตามเวลาเพื่อประเมินอาการและระวังการเกิดBPสูงเฉียบพลัน
ผลต่อการทาหน้าที่ของตับ: ตระหนักรู้ถึงการทาหน้าที่ของตับที่ปกติ เช่น คลื่นไส้ ผู้ป่วยบ่นเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารและอาการตาเหลือง ตัวเหลือง
SE.อื่นๆ เช่น Withdrawal Symptoms จาก Anticholinergic Rebound พบจากการหยุดยาที่มีฤทธิ์ Anticholinergic มาก หากให้ขนาดสูง เช่น ยา Amitriptyline 150 mg/วัน นานเกิน 3 เดือนหลังหยุดยาจะเกิดอาการวิตกกังวล กระวนกระวาย นอนไม่หลับ ปั่นป่วนในท้อง ภายใน 48 ชั่วโมง: รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาลดขนาดยา ในผู้ที่จำเป็นต้องหยุดยาทันที อาจทำให้ Diphenhydramine หรือ Artane ช่วยแก้อาการ