Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต (กระบวนการพยาาบาลของบุคคลที่มีปัญหาด้าน…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
การพยาบาลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร
Anorexia nervosa
เกณฑ์การวินิฉัย ตามเกณฑ์ DSM V
A: ปริมาณพลังงานที่สัมพันธ์กับความต้องการ นำไปสูน้ำหนักตัวที่ต่ำอย่างมีนัยสำคัญในบริบทของ อายุ เพศวิถี การพัฒนาการตามวัยและสุขภาพร่างกาย
ฺฺฺB: ความกลัวที่เพิ่มขึ้นของการเพิ่มน้ำหนักหรือกลายเป็นไขมันหรือพฤติกรรมถาวรที่รบกวนการเพิ่มน้ำหนักแม้ว่าจะมีน้ำหนักต่ำ
C: การรบกวนในลักษณะที่น้ำหนักหรือรูปร่างของร่างกายเป็นประสบการณ์มีอิทธิพลต่อน้ำหนักตัวหรือรูปร่างที่ไม่เหมาะสมต่อการประเมินตนเอง
ชนิดแบ่งได้ 2 ชนิด
ฺpurging type : จะมีพฤติกรรมรับประทานครั้งละมากๆหรือขับอาหารออกจากร่างกาย
Restricting type : จะไม่มีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือมีการขับอาหารออกจากร่างกาย
Bulimia nervosa
เกณฑ์การวินิจฉัย ตามเกณฑ์ DSM V
A: รับประทานมากขึ้น 2 อย่าง 1. รับประทานในระยะเวลาที่ไม่ต่อเนื่อง คือ รับประทานในปริมาณมากกว่าคนส่วนใหญ่
ความรู้สึกขาดการควบคุมการกินในแต่ละช่วง
ฺB: พฤติกรรมชดเชยที่ไมม่เหมาะสมเกิดขึ้นซ้ำๆ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น เช่นการอาเจียน อดอาหาร ออกกำลังกายอย่างหนัก
C: กินและพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งคู่ เกิดขึ้นได้เฉลี่ยอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งเป้นเวลาสามเดือน
D: การประเมินตนเองนั้นได้รับอิทธิพลจากรูปร่างและน้ำหนักอย่างไม่เหมาะสม
E: ความผิดปกติไม่ได้มีเฉพาะในช่วงที่มีอาการ Anorexia Nervosa
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Purging type
มีการอาเจียน ใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ ยาสวนถ่าย
Nonpurging type
มีพฤติกรรมการชดเชยการกินมากที่ไม่เหมาะสม เช่น การอดอาหาร การออกกำลังกายอย่างหักโหม แต่ไม่มีการทำให้ตนเองอาเจียน
สาเหตุ (Etiology)
ปัจจัยทางชีววิทยา (ฺฺBiological factors)
ขนาดของ ventricles ใหญ่กว่าปกติ ปริมาณของสารสื่อประสาทหลายชนิดในน้ำไขสันหลังผิดปกติ
พันธุกรรม
ปัจจัยทางสังคม (Psychosocial factors)
พัฒนาการทางด้านจิตใจ
มีบุคลิกลักษณะแบบย้ำคิด (Obsessiveness) และเป็นคนที่สมบูรณ์แบบ (perfectionism)
สื่อมวลชนแและแฟชั่น
การบำบัดรักษา
การบำบัดด้วยยา (Psychopharmacology) ยารักษาอาการเศร้า ชนิด Tricyclics และ SSRls
การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu therapy) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย
จิตบำบัด (Psychotherapy) มุ่งให้ผุ้ป่วยรู้ถึงความสัมพันธ์ทางจิตใจกับปัญหาการกินที่ผิดปกติ
ครอบครัวบำบัด (Family therapy) ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพที่ดี มีการส่งเสริมให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
พฤติกรรมบำบัด (Behavior therapy) ปรับพฤติกรรมการกินอาหารความแข็งแรงของร่างกาย เสริมแรงทางบวกเมื่อผู้ป่วยกินอาหารได้อย่างเหมาะสม
กระบวนการพยาาบาลของบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร
แบบแผนการรับรูสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ผู้ป่วยไม่รู้ถึงความผิดปกติของตนเองจนกว่าจะเจ็บป่วย หรือมีโรคแทรกซ้อนทางกาย
แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
กินน้อย อดอาหารหรือจะมีการรับประทานอาหารครั้งละมากๆและขับออกจากร่างกาย
แบบแผนการขับถ่าย
Pt. Anorexia Nervosa จะท้องผูก Pt. Bulimia Nervosa จะใช้ยาระบายหรือสวนถ่าย
แบบแผนการออกกำลังกาย
Bulimia Nervosa จะออกกำลังกายหักโหม
แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงไป
แบบแผนการรับรู้และความคิด
ความคิดหมกมุ่นอยู่กับร่างกาย ขาดความรู้เรื่องสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
แบบแผนรับรู้ตนเอง อัตมโนทัศน์
มีการวิตกกังวล หรือซึมเศร้าได้ เกี่ยวกับรูปร่างตนเอง
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
แบบแผนความเครียดและทนต่อความเครียด
การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ
แบบแผนเพศและการเจริญพันธ์
การแสดงความต้องการทางเพศเปลี่ยแปลงไป
แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
มีความทุกข์ทางจิตวิญญาณ
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น (Sleep-Wake disorder)
จำแนกตาม DSM5 ประกอบด้วย 10 โรค
1.โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder) เช่น นอนหลับยาก นอนหลับไม่สนิท
โรคนอนหลับมากผผิดปกติ (hypersomnolence disorder) เช่น รู้สึกนอนไม่พอ ไม่สดชื่น ทั้งที่ตอนกลางคืนนอนอย่างต่อเนื่อง 7 ชั่วโมงขึ้นไป
โรคลมหลับ (narcolepsy) เช่น ง่วงนอนมากเกินไป ไม่สามารถต้านทานความง่วงที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วได้
กลุ่มโรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ (ฺbreating-related sleep disorder) ขาดการหายใจเป็นช่วงๆ ระดับออกซิเจนในเลือดน้อยลง
5.ความผิดปกติจากวงจรเวลาการนอนหลับและการตื่น (circadian rhythm Sleep disorder) ง่วงนอนในเวลาที่ไม่เหมาะสมกับช่วงเวลานอน
โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับในช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร้ว แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. ละเมอเดิน 2. ชนิดฝันผวา
โรคฝันร้าย (nightmare disorder)
โรคผิดปกติของพฤติกรรมการนอนหลับในช่วง rem sleep
โรคขาอยุ่ไม่สุข (restless legs syndrom)
โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา (substance/medication-induced sleep disorder)
การรักษา
ยานอนหลับ ในปัจจุุบันใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines
ผลข้างเคียง
บกพร่องทางความจำ, ผลต่อการรู้การเข้าใจ, บกพร่องในการมองเห็นภาพ 3 มิติและความเข้าใจ, เสนี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ยาต้านเศร้า (antidepressants) และผลต่อการนอนหลับ
ยาที่ใช้ เช่น amitriptyline, clomipramine, imipramine
การแก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม Cognitive-behavioral therapy
เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วย เช่น ให้ศึกษาเรื่อง sleep hygine, ควบคุมการกระตุ้น, จำกัดการนอน
การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
รับประทานให้ครบ 5 หมู่ งดสูบบุหรี่ ออกกำลังกาย มีกิจกรรมให้มีความสุข ปรับวิธีคิดให้ถูกต้อง
เทคนิดการลดความเครียด
การฝึกหายใจ การนวด การรอบตัว รสสุคนธ์บำบัด
สุขอนามัยที่ดีของการนอนหลับ (Sleep hygiene)
สิ่งที่ควรปฎิบัติ เช่น
ควรรักษาความสมดุล และความสม่ำเสมในกิจวัตรประจำวัน
ในห้องนอนควรจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
ควรปรับท่านอนให้เหมาะสมกับตนเอง
การรับประทานอาหานว่างก่อนนอน, หาวิะีผ่อนคลายความเครียด
ควรนอนหลับต่อเนื่องอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวันและควรนอนก่อนเที่ยงคืน
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น
ในระหว่างวัน พยายามไม่งีบหลับ, หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีกาเฟอีนและแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเป็นจำนวนมากหรือย่อยยาก ภายใน 3 hr. ก่อนนอน
การบำบัดทางการพยาบาล nursing Intervention for Sleep Pattern Disturbance
Sleep Enhancement
ประเมินรูปแบบ การนอนหลับ, ลักษณะการนอนหลับ
ปัจจัยเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วางแผนช่วยเหลือ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงความจำเป็นในการนอนให้เพียงพอ
ปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมแก่การนอนหลับ และอื่นๆ