Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) (ยารักษาอาการซึมเศร้า…
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology)
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic Drugs/Major Tranquillizers)
Typical antipsychotic drugs หรือ Dopamine Antagonists (DA)
1.1 กลุ่ม Aliphatic Phenothiazine มีฤทธิ์ Sedative สูง
มีฤทธิ์ข้างเคียงทาให้ความดันโลหิตต่ำมากกว่ายาชนิดอื่น
Chlorpromazine (Largactil) 25 mg, 50 mg, 100 mg, 200 mg
1.3 กลุ่ม Piperazine Phenothiazine มีฤทธิ์ Sedative ต่า แต่ Extrapyramidal Symptoms สูง ลดความคิดหลงผิด และประสาทหลอนได้ดี
-Perphenazine (Trilafon, pernazine, Pernamed)
2 mg, 4 mg. 8 mg
-Trifluoperazine (Stelazine, Triflazine, Psyrazine) 1 mg, 2 mg, 5 mg, 10 mg
-Fluphenazine (Fendec, Phenezine, Prolixin)
25 mg/ml
1.4 กลุ่ม Thiozanthenes
-Flupenthixol Decanoate (Fluanxol Depot) 20 mg/ml, 40 mg/ml
-Zuclopenthixol Acetate (Clopixol Acuphase)
50 mg/ml, 200 mg/ml
1.2 กลุ่ม Piperazine Phenothiazine มีฤทธิ์ Sedative ปานกลาง มี Extrapyramidal Symptoms น้อย แต่มีฤทธิ์ข้างเคียง Anticholinergic สูงกว่ายาอื่น
-Thioridazine (Melleril, Tidazine, Thiomed) 10 mg, 25 mg, 50 mg, 100 mg
1.5 กลุ่ม Butyrophenone มี Potency สูง มีฤทธิ์ Sedative น้อยละมี Extrapyramidal Symptoms สูง ใช้ในการควบคุมอาการวุ่นวาย ก้าวร้าว ประสาทหลอน หลงผิด และ Mania
-Bromperidol (Impromen) 5 mg, 10 mg มีทั้งชนิดรับประทานและฉีด
-Haloperidol (Haldol, Halop, Haridol) ชนิดรับประทาน 0.5 mg, 2 mg, 5 mg, 10 mg และ ชนิดฉีด 5 mg/ml
Atypical antipsychotic drugs หรือ Serotonin-Dopamine Antagonists (SDA)
เป็นยารักษาโรคจิตกลุ่มใหม่ ซึ่งยากลุ่มใหม่นี้มีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาต่างจากยากลุ่มเดิม มีการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงประเภท Extrapyramidal Symptoms น้อยกว่ายากลุ่มเดิม แต่ราคาจะค่อนข้างสูงกว่า ยากลุ่มใหม่
-Clozapine (Clozaril, Clopaze) 25 mg, 100 mg
-Risperidone (Risperdal) 1 mg, 2 mg, 3 mg, 4 mg
-Olanzapine (Zyprexa) 5 mg, 7.5 mg, 10 mg
-Quetiapine (Seroquel) 25 mg, 100 mg, 200 mg
-Ziprasidon (Geodon) 20 mg, 40 mg
Side effect
2ภาวะ
1.orthostatic hypotension
2.seizure threshold
3ระบบ
2.ต่อมไร้ท่อ
หิวบ่อย กินจุ น้ำหนักเพิ่ม
ญ นมคัด หลั่งน้ำนม ประจำเดือนลด ความต้องการทางเพศลด
ช นมโต หลั่งอสุจิลดลง
3.เลือด
agranulocytosis ติดเชิ้อง่าย มีไข้
1.ประสาทอัตโนมัต
ปากแห้ง ตาพร่า ปัสสาวะลำบาก
ท้องผูก
2กลุ่มอาการ
2.NMS
Fever
Encephalopathy
Vital sign unstable
Enzyne elevated
Rigidity of muscle
1.EPS
1.1Parkinsonial like syndrome
akinesia การเคลื่อนไหวช้า
rigidity กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง
mask face ) สีหน้าเฉยเมยไม่แสดงความรู้สึกเหมือนใส่หน้ากาก
tremor เดินขาลาก มีอาการสั่น
1.2 acute dystonia คอบิดไปข้างใดข้างหนึ่งหรือลำตัวบิดไปด้านข้าง
1.3Akathisia
เป็นความรู้สึกกระวนกระวาย กระสับกระส่าย อยู่นิ่งไม่ได้ ต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา มือและแขนสั่น มีอาการคล้าย Agitation
1.4Tardive dyskinesia มีอาการของการเคลื่อนไหวซ้าๆ ของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าลิ้น และลำคอ อาจไม่รู้ตัวหรือควบคุมไม่ได้ เช่น ดูดปาก แลบลิ้น เลียริมฝีปาก เคี้ยวปาก แสยะใบหน้า กลืนลำบาก เกิดจากการใช้ยาในขนาดสูงเป็นระยะนานติดต่อกันอย่างน้อย 3 เดือน
3อวัยวะ
2.ตับ ดีซ่าน
3.ตา ตาพร่า
1.ผิวหนัง ลมพิษ ผิวหนังอักเสบ
การพยาบาล
Extrapyrmidal Symptoms (EPS)
ทำให้เกิดเกิดความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว
ข้อ 1.1, 1.2 และ 1.3 อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าอาการเหล่านี้จะเกิดได้ในระยะแรกที่ได้รับยา จะเกิดขึ้นชั่วคราวเท่านั้น จะหายไปได้เมื่อใช้ยาแก้แพ้ (Antiparkinson drugs) และร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวได้ อาการดังกล่าวจะไม่มีอันตรายกับผู้ป่วย เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย 1.3 ระวังการเกิดอุบัติเหตุ และการรบกวนผู้อื่น คอยดูแลการรับประทานอาหาร
1.4 คอยสังเกตอาการ ถ้าพบควรให้อาหารที่มีแคลลอรี่สูง อาหารอ่อน ให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอแนะนำผู้ป่วยให้พูดช้าๆ ให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึกเขาออกมา
Neuroleptic malignant syndrome (NMS) มีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็งอย่างรุนแรง
ไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตไม่สม่ำเสมอ ระดับการรู้สึกตัวลดลง อาจเกิดภาวการณ์ทางานของระบบหายใจล้มเหลว และอาจเสียชีวิตได้
คอยสังเกตการ ถ้าพบรีบรายงานแพทย์ทราบเพื่อให้การช่วยเหลือ
3.Anticholinergic side effect จะทำให้มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ เกิดจากการใช้ยา Thioridazine เป็นส่วนใหญ่ โดยมีอาการ
ตาพร่า
ให้ความมั่นใจว่าอาการจะหายไปได้ ไม่ควรขับรถจนกว่าอาการตาพร่าจะดีขึ้นระวังการพลัดตกหกล้มจากการมองเห็นไม่ชัด
ปัสสาวะลาบาก
จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุลของน้ำที่ได้รับและการขับถ่ายออกไป หาหลายๆ วิธีที่จะทาให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
ปากแห้ง
ให้อมน้ำแข็งหรือจิบน้าบ่อยๆ
ท้องผูก
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใยมากๆ เช่น ผัก ผลไม้ ดื่มน้ำเพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
Adrenergic side effect มีความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (Orthostatic hypotension) ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะและหน้ามืด
แนะนำผู้ป่วยให้ลุกขึ้นอย่างช้าๆจากท่านอนเป็นท่านั่ง หรือท่านั่งเป็นท่ายืน วัดความดันโลหิตท่านอนและท่ายืนเพื่อเปรียบเทียบกัน
ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine effect) อธิบายให้ผู้ป่วยฟังว่าอาการเล่านี้จะเกิดชั่วคราวเท่านั้นและจะเป็นปกติได้ แนะนำเรื่องอาหารและการออกกำลังกาย
ผลต่อผิวหนัง (Skin reaction)อาจจะมีลมพิษหรือผิวหนังอักเสบ อาจจะหยุดยาชั่วคราว หรือให้ยาแก้แพ้และแนะนำผู้ป่วยให้ระวัง โดยใส่เสื้อแขนยาวหรือกางร่ม หรือใช้ยาทาผิวกันแสงแดดเมื่อจะออกไปข้างนอก
ผลต่อตับ (Hepatologic effect) สังเกตอาการดีซ่าน เช่น ตัวเหลือง ตาเหลือง
ผลต่อระบบเลือด (Hematologic effect) ทาให้มีจำนวนเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ (Agranulocytosis) ผู้ป่วยจะมีอาการติดเชื้อง่าย สังเกตอาการของผู้ป่วย เช่น เจ็บคอ มีไข้ รายงานให้แพทย์ทราบ
ความต้านทานต่อการชักลดลง (Effect on seizure threshold) ผู้ป่วยจะมีอาการชักง่ายขึ้น ในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคลมชัก
คอยสังเกตอาการชักของผู้ป่วยที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ผลต่อตา (Ocular effect) มีการเปลี่ยนสีที่เลนส์ถูกตาและที่ Retina ทำให้ตาพร่ามองเห็นไม่ชัด คอยสังเกตอาการของผู้ป่วยและถ้าพบแนะนำให้ผู้ป่วยระวังการเคลื่อนไหว เพราะอาจพลัดตกหกล้มทำให้บาดเจ็บได้
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant Drugs)
กลุ่ม Tricyclic Antidepressants (TCAs)
-Nortriptyline (Aventyl, Nortrilen, Pamelor) 10 mg, 25 mg
-Clomipramine (Anafranil) 10 mg, 25 mg, 50 mg
-Amitriptyline (Tryptanol) 10 mg, 25 mg, 50 mg
-Doxepin (Sinequan) 25 mg
-Imipramine (Tofranil) 10 mg, 25 mg, 50 mg
-Maprotiline (Ludiomil) 10 mg, 25 mg
กลุ่ม Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
-Phenelzine (Nardil) 15 mg
-Tranylcypromine (Parnate) 10 mg
-Aurorix (Moclobemide) 150 mg, 300 mg
-Isocarboxazid (Marplan) 10 mg
กลุ่ม Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
-Floxetine (Prozac) 20 mg
-Fluvoxamine (Faverin, Luvox) 50 mg, 100 mg
-Paroxetine (Paxil, Seroxat) 10 mg, 20 mg, 30 mg, 40 mg
-Sertraline (Zoloft) 25 mg, 50 mg 100 mg
-Citalopram (Celexa, Cipram) 10 mg, 20 mg, 40 mg
กลุ่ม New Generation
-Mianserin (Tolvon, Tolimed) 10 mg, 30 mg
-Trazodone (Desirel) 50 mg, 100 mg, 150 mg
-Tianeptine (Stablon) 12.5 mg
-Bupropion (Quomen) 150 mg
-Venlafaxian (Efexor-XR) 75 mg, 150 mg
-Mirtazapine (Remeron) 30 mg
-Maprotiline (Ludiomil) 10 mg, 25 mg, 75 mg
ผลข้างเคียงของยาและการพยาบาล
ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นได้กับยารักษาอาการซึมเศร้าทุกกลุ่ม
ปากแห้ง (Dry mouth)
แนะนำให้ผู้ป่วยอมก้อนน้ำแข็งหรือจิบน้าบ่อยๆ
ง่วงซึม (Sedation) โดยเฉพาะ เมื่อได้รับยา Amitriptyline
และ Mianserin
แพทย์อาจให้เป็นยาก่อนนอนและแนะนำผู้ป่วย อย่าขับรถหรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรที่อาจเกิดอันตรายจากการง่วงซึม
คลื่นไส้ (Nausia)
ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหารเพื่อลดอาการระคายเคืองของกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียงที่เกิดได้กับยากลุ่ม TCAs
ตาพร่า
ให้ความมั่นใจว่าอาการจะหายไปหลังจากได้รับยา 2-3 สัปดาห์แนะนำอย่าขับรถจนกว่าอาการตาพร่าจะดีขึ้น ระวังการพลัดตกหกล้ม
ท้องผูก
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำเพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ออกกำลังกาย
ปัสสาวะลำบาก
แนะนำให้รายงานแพทย์เมื่อปัสสาวะลำบาก จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุลของน้ำ หาวิธีที่จะทำให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (Orthostatic hypotension)
แนะนำให้ลุกขึ้นอย่างช้าๆจากท่านอนเป็นท่านั่ง หรือท่านั่งเป็นท่ายืน วัดความดันโลหิตท่านอนและท่ายืนเพื่อเปรียบเทียบกัน
มีโอกาสชักง่ายขึ้นในรายที่เป็นโรคลมชัก
สังเกตผู้ป่วยรายที่มีประวิตโรคลมชักอย่างใกล้ชิด
น้ำหนักเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ Amitriptyline
แนะนำเกี่ยวกับการรับระทานอาหารและออกกำลังกาย
ผลข้างเคียงที่เกิดได้กับยากลุ่ม SSRIs
นอนไม่หลับ
แนะนำให้รับประทานยาในตอนเช้า หลีกเลี่ยงอาหาร และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน สอนเทคนิคคลายเครียดให้ผู้ป่วยใช้ก่อนนอน
ปวดศีรษะ
รายงานให้แพทย์ทราบ
น้ำหนักลด
ให้รับประทานอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ความต้องการทางเพศลดลง
ให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึก รายงานแพทย์ทราบเพื่อให้การช่วยเหลือ
Serotonin syndrome เกิดจากการมี Serotonin activity มากเกินไป ทาให้อาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง ความดันโลหิตไม่สม่ำเสมอ (อาจจะสูงหรือต่ำ) เดินเซสับสน กระวนกระวาย อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว อาจหมดสติได้
หยุดให้ยาทันที รายานแพทย์ทราบ
ผลข้างเคียงที่เกิดได้กับยากลุ่ม MAOIs ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลัน (Hypertensive crisis) มีอาการความดันโลหิตสูงร่วมกับอาการปวดศีรษะ ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ เจ็บหน้าอก
แนะนำผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสาร Tyramine หยุดให้ยาทันทรายงานแพทย์ วัดความดันโลหิตตามเวลาเพื่อประเมินอาการและระวังการเกิดความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลัน
5.ผลต่อการทาหน้าที่ของตับ
ตระหนักรู้ถึงการทาหน้าที่ของตับที่ปกติ เช่น คลื่นไส้ ผู้ป่วยบ่นเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารและอาการตาเหลือง ตัวเหลือง
ผลข้างเคียงอื่นๆที่อาจพบได้ เช่น Withdrawal Symptoms จาก Anticholinergic Rebound ซึ่งพบจากการหยุดยาที่มีฤทธิ์ Anticholinergic มาก
รายงานแพทย์ทราบ เพื่อพิจารณาการลดขนาดยาลง ในผู้ที่จำเป็นต้องหยุดยาทันที อาจทำให้ Diphenhydramine หรือ Artane ช่วยแก้อาการ