Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น (sleep-wake disorder)…
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น
(sleep-wake disorder)
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น
(sleep-wake disorder) ตาม dsm5 มี 10 โรค
8.โรคผิดปกติของพฤติกรรมการนอนหลับในช่วง rem sleep (rapid eye movement sleep behavior disorder) เคลื่อนไหวร่างกายตามความฝัน
9.โรคขาอยู่ไม่สุข(restless legs syndrom)
7.โรคฝันร้าย(nightmare disorder)
10.โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา(substance/medication-inducedsleep disorder)
6.โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับในช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว(non-Rapid eye movement sleep arousal disorder)แบ่งเป็น2ชนิดคือ ชนิดละเมอเดิน(sleep walking type) และชนิดฝันผวา(sleep terror)
5.ความผิดปกติจากวงจรเวลาการนอนหลับและการตื่น (circadian rhythm Sleep-wake disorder) ทำให้การง่วงนอนเกิดขึ้นไม่เหมาะสมกับช่วงเวลาที่สามารถนอนหลับได้
4.กลุ่มโรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ(breating-related sleep
disorder) ผู้ป่วยขาดหายใจเป็นช่วงหรือลมหายใจลดลง
3.โรคลมหลับ(narcolepsy) ง่วงนอนมากเกินไป ไม่สามารถต้านทานความง่วงที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วได้
2.โรคนอนหลับมากผิดปกติ(hypersomnolence disorder) มีอาการง่วงนอนหรือนอนหลับมากกว่าปกติ
1.โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder) อาการหลักได้แก่
นอนหลับยาก นอนหลับไม่สนิท
การรักษา
2.ยาต้านเศร้า(antidepressants)และผลต่อการนอนหลับ
3.การแก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม cognitive-behavioral therapy
ให้การศึกษาเรื่อง sleep hygine
ควบคุมการกระตุ้น
จำกัดการนอน
1.ยานอนหลับ ในปัจจุบันใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines
สุขอนามัยที่ดีของการนอนหลับ (sleep hygiene)
สิ่งที่ควรปฎิบัติ 14 ข้อ
ควรรักษาความสมดุล และความสม่ำเสมอในกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ
ควรปรับท่านอนให้เหมาะสมกับตนเอง
การรับประทานอาหารว่างเบาๆ ก่อนนอน
ควรหาวิธีผ่อนคลายความเครียดบ้าง
การอาบ หรือแช่น้ำอุ่นก่อนนอนประมาณ 1 - 1½ ชั่วโมง อาจทำให้หลับดีขึ้นได้
ก่อนนอน ควรทำกิจกรรมสั้นๆ ให้ร่างกายทราบว่าถึงเวลาเข้านอนแล้ว เช่น ฟังดนตรีที่ผ่อนคลาย, อ่านหนังสือธรรมะ เป็นต้น
ควรหลับต่อเนื่องอย่างน้อย 6 -8 ชั่วโมง ต่อวัน และควรเข้านอนก่อนเที่ยงคืน
ถ้าไม่สามารถหลับได้ หลังจากเข้านอนแล้ว เกิน 30 นาที ไม่ควรนอนอยู่บนเตียง ควรลุกขึ้นจากเตียงนอน และออกจากห้องนอน
ในห้องนอน ควรจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
ถ้าตื่นขึ้นกลางดึก หลังเข้านอนแล้ว ไม่ควรพยายามกดดันตนเองเพื่อให้รีบนอนจนเกินไป
ควรควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้มากเกินไป
ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทุกวัน
ควรรับประทานยาตามที่แพทย์แนะนำในแต่ละช่วงเวลา
ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกไปข้างนอกบ้าน ควรสัมผัสกับแสงอาทิตย์ จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง melatonin ซึ่งช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง 11 ข้อ
ในระหว่างกลางวัน พยายามไม่งีบหลับ
หลีกเลี่ยงการบริโภคสารคาเฟอีน (caffeine)
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม (เช่น เหล้า, เบียร์, วิสกี้, ไวน์) ภายใน 4-6 ชั่วโมงก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการใช้สารนิโคติน (nicotine) (เช่น สูบบุหรี่ หรือยาบางชนิดที่มีสารนิโคตินเป็นส่วนประกอบ) ภายใน 4-6 ชั่วโมง ก่อนนอน
หลีกเลี่ยงยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท, ยาขยายหลอดลม (bronchodilator) และยาแก้คัดจมูกบางชนิด (เช่น pseudoephedrine) ในช่วงก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารจำนวนมาก หรืออาหารที่ย่อยยาก (เช่น เนื้อสัตว์ หรือไขมันปริมาณสูง) หรืออาหารที่มีรสเผ็ดจัด ภายใน 3 ชั่วโมงก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หนักและหักโหม ในช่วงหัวค่ำ หรือภายใน 4-6 ชั่วโมงก่อนนอน
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดความเครียด ในช่วงเวลาใกล้นอน
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำจำนวนมากก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการใช้ยานอนหลับอย่างต่อเนื่องนานเกิน 1 เดือน
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมอื่นๆบนเตียงนอน เช่น อ่านหนังสือ, ทำงาน, ชมภาพยนตร์ หรือดูโทรทัศน์, คุยโทรศัพท์, ฟังวิทยุ
การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
ฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ปรับวิธีคิดให้ถูกต้อง
มีกิจกรรมให้ความสุข
การทำสมาธิ
ออกกำลังกาย
ปฏิบัติตัวตามหลักของพระพุทธศาสนา
แก้ไขพฤติกรรม ให้มองโลกในแง่ดี สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
งดสูบบุหรี่
รับประทานให้ครบห้าหมู่
เทคนิคการลดความเครียดอย่างอื่น
การฝึกการหายใจ
การนวด
การอบตัว
รสสุคนธ์บำบัด
นางสาววิลัยวรรณ ทิพม่อม เลขที่ 50
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 ห้อง B