Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ (Sexual dysfunctions (โรคในกลุ่มนี้…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
Sexual dysfunctions
การวินิจฉัย
มีอาการติดต่อกันนาน6เดือนขึ้นไป
อาการต้องเกิดเป็นส่วนใหญ่ในกิจกรรมทางเพศของบุคคลนั้น
ไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกาย
การรักษา
การรักษาด้วยยา กลุ่ม phosphodiesterase-5 inhibitor
พฤติกรรมบำบัด assertive training
โรคในกลุ่มนี้
delayed ejaculation
Erectile Disorder
Female Orgasmic Disorder
Female Sexual Arousal Disorders
Genito-pelvic pain/penetration disorder
male hypoactive sexual desire disorder
premature (early) ejaculation
substance/medication-induced sexual dysfunction
Gender dysporia
การวินิจฉัย
1.ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นอีกเพศหนึ่ง ซึ่งแตกต่างกับเพศที่ถูกกำหนดมาแต่กำเนิด โดยมีระยะเวลาไม่ต่ำกว่า6เดือน
2.ภาวะในข้อ1ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ใจอย่างมากหรือส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิตด้านต่างๆ
การดูแลรักษา
1.หากตรวจพบโรคทางกายหรือความผิดปกติของพัฒนาการต้องส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
2.ส่งเสริมพัฒนาการทางเพศตามปกติ
3.กรณีเป็นผู้ที่มีภาวะรักร่วมเพศที่ผ่านขั้นตอนตามข้อ1-2แล้ว ให้ความรู้ความเข้าใจ การปรับตัว การแสดงออกในสังคม การทำความเข้าใจตนเอง
4.หลังจากรักษาเบื้องต้นทางจิตใจและสังคมแล้ว ผู้ป่วยยังคงต้องการแปลงเพศ จิตแพทย์จะให้ความรู้เรื่องโรคและการแปลงเพศ
Paraphilic disorders
จำแนกเป็น
กลุ่ม anomalous activity preference
กลุ่มanomalous target preference
การรักษา
การใช้ยา
antiandrogen
cyproterone acetate medroxyprogesterone
hormonal agents
long-acting gonadotropin-releasing hormone
leuteinizing hormone-releasing hormone
จิตบำบัด
cognitive behavioral therapy
relapse prevention therapy
victimempathy
พฤติกรรมบำบัด
olfactory aversion conditioning
covert sensitization
masturbatory satiation
orgasmic reconditioning
กระบวนการพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
การประเมินภาวะสุขภาพ
แบบแผนที่ 1
Gender identity disorder มักไม่รู้ถึงความผิดปกติของตนเอง
Sexual dysfunction จะรู้ว่าตนมีปัญหา และต้องการการบำบัดรักษา
แบบแผนที่ 2
ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา นอกจากในรายที่วิตกกังวลมาก หรือซึมเศร้า จึงควรพิจารณาในแต่ละรายไป
แบบแผนที่ 3
พิจารณาในแต่ละรายไป
แบบแผนที่ 4
ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา นอกจากในรายที่ท้อแท้ ซึมเศร้า จึงควรพิจารณาในแต่ละรายไป
แบบแผนที่ 5
ในรายที่มีความเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า จะมีนอนไม่หลับได้
แบบแผนที่ 6
ผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศส่วนมากมีหรือได้รับความรู้ทางเพศศึกษาไม่ถูกต้อง
แบบแผนที่ 7
Sexual dysfunction มักคิดว่าตนเป็นคนไม่มีคุณค่า มีอารมณ์วิตกกังวล เศร้า
Gender identity disorder ไม่ต้องการเพศของตัวเอง อาจมีอารมณ์ไม่คงที่ หรือวิตกกังวล จึงควรพิจารณาในแต่ละรายไป
แบบแผนที่ 8
Gender identity disorder จะแสดงบทบาทของเพศตรงข้าม
Sexual dysfunction บางรายอาจมีการแสดงบทบาทไม่เหมาะสม
แบบแผนที่ 9
ผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศมีความไม่สมหวังในแบบแผนทางเพศ และส่งผลให้เกิดอุปสรรคต่อการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 10
ผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศบางรายมีการจัดการกับความเครียดไม่เหมาะสม มีการทำร้ายตนเองได้
แบบแผนที่ 11
พิจารณาในแต่ละรายไป ซึ่งมักจะมีความทุกข์ในการครองชีวิตคู่