Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น (sleep-wake disorder) (ตาม dsm5…
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น
(sleep-wake disorder)
ตาม dsm5 ประกอบไปด้วย10โรคหลักดังนี้
1.โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder)
3.โรคลมหลับ(narcolepsy)
4.กลุ่มโรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ
5.ความผิดปกติจากวงจรเวลาการนอนหลับและการตื่น(circadian rhythm Sleep-wake disorder)
6.โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับในช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว(non-Rapid eye movement sleep arousal disorder)
7.โรคฝันร้าย(nightmare disorder)
8.โรคผิดปกติของพฤติกรรมการนอนหลับในช่วง rem sleep (rapid eye movement sleep behavior disorder)
9.โรคขาอยู่ไม่สุข(restless legs syndrom)
10.โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา (substance/medication-induced sleep disorder)
2.โรคนอนหลับมากผิดปกติ(hypersomnolence disorder)
การรักษา
1.ยานอนหลับ ในปัจจุบันใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines
ผลข้างเคียง
1.ความบกพร่องของความจำ
2.ผลต่อการรู้การเข้าใจ และpsychomotor
3.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
4.การยับยั้งหรือการควบคุมพฤติกรรมลดลง
2.ยาต้านเศร้า(antidepressants)และผลต่อการนอนหลับ
1.amitriptyline
2.clomipramine
3.imipramine
4.nortriptyline
5.ยาในกลุ่ม ssris (escitalopram,sertraline,fluoxetine,fluvoxamine,paroxetine)
6.ยาต้านเศร้าอื่นๆ
(venlafaxine,trazadone,nefazodone,mirtazapine)
3.การแก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม cognitive-behavioral therapy
เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วย
ให้การศึกษาเรื่อง sleep hygine
ควบคุมการกระตุ้น
จำกัดการนอน
สุขอนามัยที่ดีของการนอนหลับ (sleep hygiene)
สิ่งที่ควรปฏิบัติ
ควรรักษาความสมดุล และความสม่ำเสมอในกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ
ควรจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
ควรปรับท่านอนให้เหมาะสมกับตนเอง
การรับประทานอาหารว่างเบาๆ ก่อนนอน
ควรหาวิธีผ่อนคลายความเครียด
การอาบ หรือแช่น้ำอุ่นก่อนนอน
ควรหลับต่อเนื่องอย่างน้อย 6 -8 ชั่วโมงต่อวัน
ถ้าตื่นขึ้นกลางดึกไม่ควรพยายามกดดันตนเองเพื่อให้รีบนอน
ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้มากเกินไป
ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทุกวัน
รับประทานยาตามที่แพทย์แนะนำ
สิ่งที่ควรหลีกลี่ยง
ไม่งีบหลับเวลากลางวัน
หลีกเลี่ยงการบริโภคสารคาเฟอีน
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงการใช้สารนิโคติน
หลีกเลี่ยงยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท, ยาขยายหลอดลม และยาแก้คัดจมูกบางชนิด
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ย่อยยาก อาหารที่มีรสเผ็ดจัด
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หนักและหักโหม ภายใน 4-6 ชั่วโมงก่อนนอน
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดความเครียด ในช่วงเวลาใกล้นอน
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำจำนวนมากก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการใช้ยานอนหลับอย่างต่อเนื่องนานเกิน 1 เดือน
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมอื่นๆบนเตียงนอน
การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
รับประทานให้ครบห้าหมู่
งดสูบบุหรี่
แก้ไขพฤติกรรม ให้มองโลกในแง่ดี สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ออกกำลังกาย
มีกิจกรรมให้ความสุข
ฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ปรับวิธีคิดให้ถูกต้อง
การทำสมาธิ
ปฏิบัติตัวตามหลักของพระพุทธศาสนา
เทคนิคการลดความเครียดอย่างอื่น
การฝึกการหายใจ
การนวด
การอบตัว
รสสุคนธ์บำบัด
นางสาวทัศนีย์ ทิพรักษา ชั้นปีที่ 4 เลขที่ 18