Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น (sleep-wake disorder)…
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น
(sleep-wake disorder)
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น (sleep-wake disorder)
ตาม dsm5
:
1.โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder)
2.โรคนอนหลับมากผิดปกติ(hypersomnolence disorder)
3.โรคลมหลับ(narcolepsy)
4.กลุ่มโรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ(breating-related sleep disorder)
5.ความผิดปกติจากวงจรเวลาการนอนหลับและการตื่น(circadian rhythm Sleep-wake disorder)
9.โรคขาอยู่ไม่สุข(restless legs syndrom)
10.โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา(substance/medication-induced sleep disorder)
8.โรคผิดปกติของพฤติกรรมการนอนหลับในช่วง rem sleep (rapid eye movement sleep behavior disorder)
7.โรคฝันร้าย(nightmare disorder)
6.โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับในช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว(non-Rapid eye movement sleeparousal disorder)
การรักษา
1.ยานอนหลับ ในปัจจุบันใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines
ผลข้างเคียง
1.ความบกพร่องของความจำ
2.ผลต่อการรู้การเข้าใจ และpsychomotor ทำให้เกิดอาการง่วงนอน บกพร่องในการมองเห็นภาพ3มิติและความสนใจ
3.ความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อสุขภาพ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
4.ผลทางจิตเวชอื่นๆ อาจทำให้การยับยั้งหรือการควบคุมพฤติกรรมลดลง ถ้าใช้ยาเป็นเวลานานจะมีอาการวิตกกังวลและซึมเศร้า
2.ยาต้านเศร้า(antidepressants)และผลต่อการนอนหลับ
1.amitriptyline
2.clomipramine
3.imipramine
4.nortriptyline
5.ยาในกลุ่ม ssris ( escitalopram,sertraline,fluoxetine,fluvoxamine,paroxetine)
6.ยาต้านเศร้าอื่นๆ (venlafaxine,trazadone,nefazodone,mirtazapine)
3.การแก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม
cognitive-behavioral therapy
1 เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
1.1ให้การศึกษาเรื่อง sleep hygine
1.2ควบคุมการกระตุ้น
1.3จำกัดการนอน
4.การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
4.1รับประทานให้ครบห้าหมู่
4.2งดสูบบุหรี่
4.3แก้ไขพฤติกรรม ให้มองโลกในแง่ดี สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
4.4ออกกำลังกาย
4.5มีกิจกรรมให้ความสุข
4.6ฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
4.7ปรับวิธีคิดให้ถูกต้อง
4.8การทำสมาธิ
4.9ปฏิบัติตัวตามหลักของพระพุทธศาสนา
5.เทคนิคการลดความเครียดอย่างอื่น
5.1การฝึกการหายใจ
5.2การนวด
5.3การอบตัว
5.4รสสุคนธ์บำบัด
การบำบัดทางการพยาบาล Nursing Intervention for Sleep Pattern Disturbance
Sleep Enhancement
Urinary Incontinent Care
Medication Management
Pain Management
Environment Management
*Simple Massage
Simple Relaxation Therapy
สุขอนามัยที่ดีของการนอนหลับ (sleep hygiene)
1. สิ่งที่ควรปฏิบัติ ได้แก่
1.1) ควรรักษาความสมดุล และความสม่ำเสมอในกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ
1.2) ในห้องนอน ควรจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
1.3) ควรปรับท่านอนให้เหมาะสมกับตนเอง
1.4) การรับประทานอาหารว่างเบาๆ ก่อนนอน
1.5) ควรหาวิธีผ่อนคลายความเครียดบ้าง
2. สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่
2.1) ในระหว่างกลางวัน พยายามไม่งีบหลับ
2.2) หลีกเลี่ยงการบริโภคสารคาเฟอีน (caffeine)
2.3) หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม (เช่น เหล้า, เบียร์, วิสกี้, ไวน์) ภายใน 4-6 ชั่วโมงก่อนนอน
2.4) หลีกเลี่ยงการใช้สารนิโคติน (nicotine) (เช่น สูบบุหรี่ หรือยาบางชนิดที่มีสารนิโคตินเป็นส่วนประกอบ) ภายใน 4-6 ชั่วโมง ก่อนนอน
2.5) หลีกเลี่ยงยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท, ยาขยายหลอดลม (bronchodilator) และยาแก้คัดจมูกบางชนิด (เช่น pseudoephedrine) ในช่วงก่อนนอน
นางสาววิมลรัตน์ คามะปะใน เลขที่ 49 รุ่นที่24 ห้องB