Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร (การวินิจฉัยทางการพยาบาลที่พ…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร
สาเหตุ (Etiology)
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological factors)
พันธุกรรม
ขนาดของ ventricles ใหญ่กว่าปกติ
ปริมาณของสารสื่อประสาทหลายชนิดในน้ำไขสันหลังผิดปกติ
ปัจจัยทางจิตสังคม (Psychosocial factors)
พัฒนาการทางด้านจิตใจ
มีบุคลิกลักษณะแบบย้ำคิด (obsessiveness)
เป็นคนที่สมบูรณ์แบบ (perfectionism)
สื่อมวลชนและแฟชั่น
เกณฑ์การวินิจฉัย Anorexia nervosa ตามเกณฑ์ DSM V
A. การจำกัดปริมาณพลังงานที่สัมพันธ์กับความต้องการ นำไปสู่น้ำหนักตัวที่ต่ำอย่างมีนัยสำคัญในบริบทของ อายุ เพศวิถี การพัฒนาการตามวัยและสุขภาพร่างกาย
B. ความกลัวที่เพิ่มขึ้นของการเพิ่มน้ำหนักหรือกลายเป็นไขมันหรือพฤติกรรมถาวรที่รบกวนการเพิ่มน้ำหนักแม้ว่าจะมีน้ำหนักต่ำอย่างมีนัยสำคัญ
C. การรบกวนในลักษณะที่น้ำหนักหรือรูปร่างของร่างกายเป็นประสบการณ์มีอิทธิพลต่อน้ำหนักตัวหรือรูปร่างที่ไม่เหมาะสมต่อการประเมินตนเอง
ชนิด
Binge eating/purging type: ในช่วงที่เป็น Anorexia Nervosa บุคคลผู้นั้นจะมีพฤติกรรมการรับประทานครั้งละมากๆ หรือขับอาหารออกจากร่างกาย (binge eating or purging behavior)
Restricting type : ในช่วงที่เป็น Anorexia Nervosa บุคคลผู้นั้นไม่มีการรับประทานครั้งละมากๆ หรือมีการขับอาหารออกจากร่างกาย
เกณฑ์การวินิจฉัย Bulimia nervosa ตามเกณฑ์ DSM V
A ในช่วงที่มีการรับประทานอาหารมากขึ้น
การรับประทานในระยะเวลาที่ไม่ต่อเนื่อง (เช่น: ภายในระยะเวลา 2 ชั่วโมง)
ความรู้สึกขาดการควบคุมการกินในแต่ละช่วง
B. พฤติกรรมการชดเชยที่ไม่เหมาะสมเกิดขึ้นซ้ำ ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น เช่นการอาเจียน
C. การกินและพฤติกรรมการชดเชยที่ไม่เหมาะสมทั้งคู่ เกิดขึ้นโดยเฉลี่ยอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งเป็นเวลาสามเดือน
D. การประเมินตนเองนั้นได้รับอิทธิพลจากรูปร่างและน้ำหนักอย่างไม่เหมาะสม
E. ความผิดปกติไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในช่วงที่มีอาการAnorexia Nervosa
ชนิด
Purging type: ในช่วงที่เป็น Bulimia Nervosa บุคคลผู้นั้นจะทำให้ตนเองอาเจียน ใช้ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ ยาสวนถ่าย
Nonpurging type : ในช่วงที่เป็น Bulimia Nervosa บุคคลผู้นั้นจะมีพฤติกรรมเพื่อชดเชยการกินมากที่ไม่เหมาะสม เช่น การอดอาหาร หรือออกกำลังกายอย่างหักโห
โรคแทรกซ้อน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือช้าลง
ไตทำงานผิดปกติ
เม็ดโลหิตและเกร็ดเลือดลดน้อยลง
กล้ามเนื้อกระเพาะและลำไส้อ่อนแอลง
กระดูกบาง กระดูกหักได้ง่าย
ผิวหนังจะแห้ง
มีขนอ่อนขึ้นตามตัว
ใบหน้า ผมร่วง อาเจียนบ่อยๆ
การบำบัดรักษา
1.การรักษาด้วยยา (Psychopharmacology) ยารักษาอาการเศร้า ชนิด Tricyclics และ SSRIs
การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu therapy) สิ่งแวดล้อมต้องคำนึงถึงความปลอดภัย
จิตบำบัด (Psychotherapy) มุ่งให้ผู้ป่วยรู้ถึงความสัมพันธ์ทางจิตใจกับปัญหาการกินที่ผิดปกติ
ครอบครัวบำบัด (Family therapy) ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพที่ดี มีการส่งเสริมให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
พฤติกรรมบำบัด (Behavior therapy) เป็นการปรับพฤติกรรมการกินอาหารของผู้ป่วยให้เป็นไปตามปกติ ให้ผู้ป่วยรับรู้ความก้าวหน้าของการเพิ่มของน้ำหนักตัว
การวินิจฉัยทางการพยาบาลที่พบได้
เสี่ยงต่อการไม่ปฏิบัติตามแผนการรักษา
การได้รับสารอาหารไม่สมดุล โดยได้รับน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย
มีภาวะขาดสารอาหาร
มีภาวะท้องผูก
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
การออกกำลังกายมากเกินไป
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
การตัดสินใจไม่เหมาะสม
ขาดความรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพที่ถูกต้อง
ภาพลักษณ์แปรปรวน
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
การทำหน้าที่ในครอบครัวบกพร่อง
การแสดงความต้องการทางเพศเปลี่ยนแปลงไป
การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ
มีความทุกข์ทางจิตวิญญาณ
การปฏิบัติทางการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อถือและไว้วางใจ
ประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ดูแลอาหารและการรับประทานของผู้ป่วย ควบคุมปริมาณแคลลอรี่ที่ผู้ป่วยได้รับ
สังเกตพฤติกรรมการกิน และการชดเชยการกินที่เพิ่มมากขึ้น
ควบคุมดูแลการทำกิจกรรม การออกกาลังกาย และส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการทำกิจกรรมที่เหมาะสม
ประสานงานกับนักโภชนากร ผู้ป่วยและครอบครัวในการวางแผนการจัดอาหาร ที่มีคุณค่า
ส่งเสริมและให้กำลังใจผู้ป่วยในเข้าร่วมการบำบัดรักษาให้ได้มีน้ำหนักตัวที่ปกติ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พูดแสดงความคิดความรู้สึกเกี่ยวกับรูปร่างและการมองภาพลักษณ์ของตนเอง
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเห็นคุณค่าในตนเอง และมองภาพลักษณ์ของตนในทางบวก
เสริมสร้างให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการตัดสินใจ
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลสุขภาพ