Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร (โรคแทรกซ้อน…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร
Anorexia nervosa
เกณฑ์การวินิจฉัย ตาม DSM V
B. ความกลัวที่เพิ่มขึ้นของการเพิ่มน้ำหนักหรือกลายเป็นไขมันหรือพฤติกรรมถาวรที่รบกวนการเพิ่มน้ำหนักแม้ว่าจะมีน้ำหนักต่ำอย่างมีนัยสำคัญ
C. การรบกวนในลักษณะที่น้ำหนักหรือรูปร่างของร่างกายเป็นประสบการณ์มีอิทธิพลต่อน้ำหนักตัวหรือรูปร่างที่ไม่เหมาะสมต่อการประเมินตนเอง
A. การจำกัดปริมาณพลังงานที่สัมพันธ์กับความต้องการ น้ำหนักตัวที่ต่ำอย่างมีนัยสำคัญ
ชนิด
Restricting type
Binge eating/purging type
กระบวนการพยาบาล
ประเมินตามแบบแผนสุขภาพ 11 แบบแผน
โรคแทรกซ้อน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เม็ดโลหิตและเกร็ดเลือดลดน้อยลง
กล้ามเนื้อกระเพาะและลำไส้อ่อนแอลง
กระดูกหักได้ง่าย
ผิวหนังจะแห้ง
Bulimia nervosa
เกณฑ์การวินิจฉัย ตาม DSM-V
C. การกินและพฤติกรรมการชดเชยที่ไม่เหมาะสมทั้งคู่
D. การประเมินตนเองนั้นได้รับอิทธิพลจากรูปร่างและน้ำหนักอย่างไม่เหมาะสม
B. พฤติกรรมการชดเชยที่ไม่เหมาะสมเกิดขึ้นซ้ำ ๆ
E. ความผิดปกติไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในช่วงที่มีอาการAnorexia Nervosa
A
การรับประทานในระยะเวลาที่ไม่ต่อเนื่อง
ความรู้สึกขาดการควบคุมการกินในแต่ละช่วง
ชนิด :
Purging type
Nonpurging type
สาเหตุ (Etiology)
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological factors)
พันธุกรรม
ขนาดของ ventricles ใหญ่กว่าปกติ
ปัจจัยทางจิตสังคม (Psychosocial factors)
มีบุคลิกลักษณะแบบย้ำคิด (obsessiveness)
เป็นคนที่สมบูรณ์แบบ (perfectionism)
พัฒนาการทางด้านจิตใจ
สื่อมวลชนและแฟชั่น
การบำบัดรักษา
จิตบำบัด (Psychotherapy)
ครอบครัวบำบัด (Family therapy)
การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu therapy)
พฤติกรรมบำบัด (Behavior therapy)
การรักษาด้วยยา (Psychopharmacology)
Tricyclics
SSRIs
การปฏิบัติทางการพยาบาล
การดูแลด้านจิตใจ
การปรับตัวในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
พยาบาลจะต้องกระทำทั้งการหยุดยั้งพฤติกรรมการกินที่ผิดปกติ
การประเมินผล
ไม่มีท่าทีหรือบอกว่าไม่มีความคิดฆ่าตัวตายแล้ว
รับประทานอาหารเหมาะสมและเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ร่วมมือในเข้าร่วมรับการบำบัดตามแผนการรักษา
น้ำหนักตัวปกติ เหมาะสมตาม เพศ วัย และส่วนสูง
ปรับตัวเข้ากับเพื่อนและสมาชิกในครอบครัวได้