Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ของคุณ สุภาพร พงศ์พฤกษ์
7C6BD96B-ED2D-4FBF-B5C4…
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ของคุณ สุภาพร พงศ์พฤกษ์
-
-
-
การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง เนื่องจากมีการลดระดับการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลมปอด
ข้อมูลสนับสนุน
-
มีความผิดปกติของเสียงหายใจ เช่น เสียงครอบแครบ (Rale) เสียงวี๊ด (Rhonchi) /อัตราการหายใจและความลึกของการหายใจลดลง/ชีพจรเร็ว ลดประสิทธิภาพการไอ/เขียว/หายใจลำบาก ไม่สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้อย่างเพียงพอ
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอัตราการหายใจ จังหวะความลึกและความแรงของการหายใจ เป็นการเตรียมข้อมูลเพื่อวางแผนให้การพยาบาล
2.สังเกตอาการกระสับกระส่าย วิตกกังวล หายใจหอบลึก ปลายมือปลายเท้าเขียวเนื่องจากเป็นอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจนจากภาวะหายใจวาย
-
- ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมอย่างเหมาะสม เพื่อช่วยเปิดทางเดินหายใจเมื่อตีบแคบ
5.ดูแลให้ได้รับยาลดความวิตกกังวลอย่างเหมาะสม
เพื่อลดความวิตกกังวลและอาการกระสับกระส่าย และมีผลให้ปริมาณการใช้ออกซิเจนลดลง
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา เช่น เวนโตลิน (Ventolin) เบอร์ลาดูออล (Beradual)
เพราะเป็นยาที่ช่วยในการขยายหลอดลม
8.ดูแลความสุขสบายทั่วๆไป เช่น พัดลม ความชื้น ฟังเทปฝึกผ่อนคลาย เสียงดนตรีและไขหัวเตียงให้สูง
เพื่อให้สุขสบายและหายใจได้สะดวกขึ้นจากผลของการผ่อนคลาย
9.แนะนำญาติผู้ป่วยให้ทราบถึงลักษณะการหายใจในระยะใกล้ตาย เช่น หายใจเสียงดัง ซึ่งเรียก “Death rattles” เพราะการให้ความรู้จะช่วยลดความวิตกกังวลจากอาการที่ทุกข์ทรมาน
10.ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับพยาธิสภาพที่ทำให้ภาวะหายใจลำบากและการแก้ไขที่ทำได้และการดูแลให้ได้รับความสุขสบายจากผลของการรักษา
11.แนะนำผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับเทคนิคการฝึกผ่อนคลาย
เพราะการผ่อนคลายช่วยลดปริมาณการใช้ออกซิเจนและช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ไม่สุขสบาย เนื่องจากกลิ่นเหม็นจากก้อนเนื้อร้าย
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด ฉายแสง และหรือฮอร์โมนเพื่อกำจัดเนื้อร้าย ทำให้ก้อนเนื้อร้ายลดขนาดลงและลดกลิ่นลงด้วย
-
-
ทาโยเกิร์ตบริเวณแผลที่มีกลิ่น เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนแปลง
จุลินทรีย์ธรรรมชาติ (Bacterial flora) ในการลดกลิ่นลง
กรณีที่แผลมีปัญหามาก ควรส่งผู้ป่วยให้กับผู้เชี่ยวชาญการพยาบาลเฉพาะทาง โดยเฉพาะเพื่อเสริมการดูแลให้ได้ผลดีที่สุดโดยผู้เชี่ยวชาญ
-
สอบถามความรู้สึกกังวลต่อกลิ่น ประเมินกลิ่น ลักษณะสิ่งคัดหลั่งและการติดเชื้อตรงบริเวณแผลเปิด เป็นการเตรียมข้อมูล เพื่อวางแผนให้การดูแลได้อย่างเหมาะสม
-
-