Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology) (ยารักษาอาการซึมเศร้า…
การบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (Psychopharmacology)
ยารักษาโรคจิต
(Antipsychotic Drugs
/Major Tranquillizers)
ยาที่ใช้
Typical antipsychotic drugs
1.3 กลุ่ม Piperazine Phenothiazine
Perphenazine, Trifluoperazine, Fluphenazine
1.4 กลุ่ม Thiozanthenes
Zuclopenthixol Acetate, Flupenthixol Decanoate
1.2 กลุ่ม Piperazine Phenothiazine
Thioridazine
1.5 กลุ่ม Butyrophenone
Haloperidol, Bromperidol
1.1 กลุ่ม Aliphatic Phenothiazine
Chlorpromazine
Atypical antipsychotic drugs
Clozapine, Risperidone, Olanzapine, Quetiapine, Ziprasidon
Side effect
1.EPS
Parkinsonial like syndrome,mask face,akinesia,rigidity,tremor,Acute dystonia, Akathisia, Tardive dyskinesia
2.NMS
Fever, Encephalopathy, Vital sign unstable
, Enzyne elevated, Rigidity of muscle
การพยาบาล
ระวังการเกิดอุบัติเหตุ และการรบกวนผู้อื่น คอยดูแลการรับประทานอาหาร
คอยสังเกตอาการ ถ้าพบควรให้อาหารที่มีแคลลอรี่สูง
อาหารอ่อน ให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำผู้ป่วยให้พูดช้าๆ ให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึกเขาออกมา
ปากแห้ง :ให้อมน้ำแข็งหรือจิบน้าบ่อยๆ
ตาพร่า :ให้ความมั่นใจว่าอาการจะหายไปได้ ไม่ควรขับรถจนกว่าอาการตาพร่าจะดีขึ้นระวังการพลัดตกหกล้มจากการมองเห็นไม่ชัด
ปัสสาวะลาบาก : จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุลของน้ำ
ที่ได้รับและการขับถ่ายออกไป หาหลายๆ วิธีที่จะทาให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
ท้องผูก : แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใยมากๆ เช่น ผัก ผลไม้
ดื่มน้ำเพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant Drugs)
กลุ่ม Tricyclic Antidepressants (TCAs)
Imipramine,Amitriptyline,Nortriptyline,
Clomipramine,Doxepin,Maprotiline
กลุ่ม Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
Aurorix,Phenelzine,Tranylcypromin,
Isocarboxazid
กลุ่ม Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
Floxetine ,Fluvoxamine,Paroxetine,
Citalopram
กลุ่ม New Generation
Mianserin,Trazodone,Tianeptine,Bupropion,
Venlafaxian,Mirtazapine,Maprotiline
การพยาบาล
ปากแห้ง (Dry mouth) : แนะนำให้ผู้ป่วยอมก้อนน้ำแข็ง
หรือจิบน้ำบ่อยๆ
ง่วงซึม (Sedation) :แนะนำผู้ป่วย อย่าขับรถหรือ
ทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรที่อาจเกิดอันตรายจากการง่วงซึม
คลื่นไส้ (Nausia) : ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหาร
เพื่อลดอาการระคายเคืองของกระเพาะอาหาร
ตาพร่า : แนะนำผู้ป่วยอย่าขับรถจนกว่าอาการตาพร่า
จะดีขึ้นระวังการพลัดตกหกล้มจากการมองเห็นไม่ชัด
ท้องผูก : แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำเพิ่มขึ้น
ถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
ปัสสาวะลำบาก : แนะนำให้ผู้ป่วยรายงานแพทย์เมื่อปัสสาวะลำบาก
จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุลของน้ำ
ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (Orthostatic hypotension) :แนะนำผู้ป่วยให้ลุกขึ้นอย่างช้าๆจากท่านอนเป็นท่านั่ง
ยาคลายกังวล (Antianxiety Drugs
/Anxiolytic Drugs/Minor Tranquillizers)
Long Acting >24 ชั่วโมง
Chlordiazepoxide,Dipotassium Clorazepate,Diazepam
Intermediate Acting ประมาณ 10-20 ชั่วโมง
Alprazolam,Lorazepam
Short Acting
Trizolam,Midazolam
การพยาบาล
ง่วงนอน,เดินเซ:แนะนำผู้ป่วยไม่ให้ขับรถในระยะที่ใช้ยา หรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกลต้องระมัดระวัง
หลงลืม:ให้ข้อมูลกับผู้ป่วยว่าอาจมีหลงลืมได้บ้าง
เกิดอาการติดยาและดื้อยาได้ : แนะนาผู้ป่วยว่าควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
คอยสังเกตอาการและใช้การช่วยเหลือผู้ป่วย
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood Stabilizing Drugs/Antimanic Drugs)
Lithium Carbonate (Eskalith, Lithane, Lithonate)
Lithium Citrate (Cibalith-s)
ระดับความเป็นพิษของลิเทียมและการช่วยเหลือ
ระดับเป็นพิษรุนแรง (Serum Lithium 2.0-2.5 mEq/L)
หยุดยาทันที ถ้าผู้ป่วยยังรู้สึกตัวให้ยาแก้อาเจียน และทำ Gastric lavage
ระดับอันตราย (Serum Lithium > 2.5 mEq/L) เตรียมทำ Hemodialysis
ระดับเป็นพิษปานกลาง (Serum Lithium 1.5-2.0 mEq/L) ให้ผู้ป่วย
รับประทานยาต่อไปติดตามประเมิน Serum Lithium เป็นระยะ
ระดับเฝ้าระวัง (Serum Lithium 1.2-1.5 mEq/L) ให้ผู้ป่วย
รับประทานยาต่อไปติดตามประเมิน Serum Lithium เป็นระยะ
ยาลดอาการข้างเคียงของยาทางจิตเวช (Anticholinergic Drugs/Antiparkinson Drugs)
Trihexyphenidyl, Benztropine, Dipenhydramine, Biperidan
การพยาบาล
ควรให้รับประทานยาหลังอาหารทันทีเพื่อป้องกันการรบกวนกระเพาะอาหาร
ควรสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้ยา เช่น การทรงตัว การพูด และความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วย
ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้จากาการ ตามัว เดินเซ เดินไม่ตรงทาง เป็นต้น
สังเกตและประเมินผลหลังให้ยา เพื่อจะได้ช่วยเหลือทันทีที่มีปัญหา
รายงานแพทย์ทันที่พบปัญหาที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับยา
ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant Drug)
ยาที่ใช้
Valproic Acid
Phenytoin
Clonazepam
Primidone
Carbamazepine
ผลข้างเคียงของยา
อาจมีอาการเหงือกบวม คลื่นไส้ ผื่นแดง ง่วง มึนงง ซึม ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
นางสาววิลัยวรรณ ทิพม่อม เลขที่ 50
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 ห้อง B