Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
sleep-wake disorder (ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น )…
sleep-wake disorder (ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น )
ประกอบไปด้วย10โรคตามDSM-5
โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder)
อาการหลักได้แก่ นอนหลับยาก นอนหลับไม่สนิทหรือตื่นบ่อยๆกลางดึกหรือมีการตื่นนอนเร็วกว่าปกติ
โรคนอนหลับมากผิดปกติ(hypersomnolence disorder)
มีอาการง่วงนอนหรือนอนหลับมากกว่าปกติ รู้สึกเหมือนนอนไม่พอ ไม่สดชื่น ทั้งที่ได้นอนหลับตอนกลางคืนอย่างเต็มที่ตั้งแต่7ชั่วโมงขึ้นไป
โรคลมหลับ(narcolepsy
ง่วงนอนมากเกินไป ไม่สามารถต้านทานความง่วง
ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วได้
กลุ่มโรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ(breating-related sleep
disorder)
ทำให้การง่วงนอนเกิดขึ้นไม่เหมาะสมกับช่วงเวลาที่สามารถนอนหลับได้
โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับในช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว(non-
Rapid eye movement sleep arousal disorder
ชนิดละเมอเดิน(sleep walking type
ชนิดฝันผวา(sleep terror)
โรคฝันร้าย(nightmare disorder)
โรคผิดปกติของพฤติกรรมการนอนหลับในช่วง rem sleep (rapid eye movement sleep behavior disorder) เคลื่อนไหวร่างกายตามความฝัน
โรคขาอยู่ไม่สุข(restless legs syndrom)
โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา (substance/medication-induced sleep disorder)
การบำบัดทางการพยาบาล
Sleep Enhancement เป็นการเอื้อ (facilitation) ให้ผู้ป่วยได้รับการหลับได้ อย่างพอเพียงตามความต้องการ Nursing Activity
ประเมินรายละเอียดรูปแบบ การนอนหลับ ลักษณะการนอนหลับ
ปัจจัยเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วางแผนให้การช่วยเหลือ
พิจารณายาที่ผู้ป่วยได้รับมีผลต่อการนอนหลับ
สังเกตและบันทึกการนอนหลับ เช่น ชั่วโมงการนอน คุณภาพการนอน ความรู้สึกว่านอนพอเพียง สดชื่น ไม่อ่อนเพลีย
ปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเช่น แสง เสียง อุณหภูมิห้อง ความสุขสบายต่าง ๆ
ช่วยจำกัดสิ่งก่อความเครียด (stressful situation) ก่อนเข้านอน
แนะนำผู้ป่วยให้เกิดการผ่อนคลายตามความเหมาะสมกับผู้ป่วย
เลือก เพื่อนผู้ป่วยที่มีความต้องการสภาพแวดล้อม ในการนอนคล้ายกัน
พิจารณาสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
การรักษา
1.ยานอนหลับ ในปัจจุบันใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines
ผลข้างเคียง
1.ความบกพร่องของความจำ
2.ผลต่อการรู้การเข้าใจ และpsychomotor ทำให้เกิดอาการง่วงนอน บกพร่องในการมองเห็นภาพ3มิติและความสนใจ
3.ความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อสุขภาพ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
4.ผลทางจิตเวชอื่นๆ อาจทำให้การยับยั้งหรือการควบคุมพฤติกรรมลดลง ถ้าใช้ยาเป็นเวลานานจะมีอาการวิตกกังวลและซึมเศร้า
2.ยาต้านเศร้า(antidepressants)และผลต่อการนอนหลับ
1.amitriptyline
2.clomipramine
3.imipramine
4.nortriptyline
5.SSRI
escitalopram
sertraline
fluoxetine
luvoxamine
paroxetine
6.ยาต้านเศร้าอื่นๆ
venlafaxine
trazadone
nefazodone
mirtazapine
3.การแก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม CBT
หลักการที่สำคัญ
เปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
ให้การศึกษาเรื่อง sleep hygine
ควบคุมการกระตุ้น
จำกัดการนอน
4.การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
รับประทานให้ครบห้าหมู่
งดสูบบุหรี่
แก้ไขพฤติกรรม ให้มองโลกในแง่ดี สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
มีกิจกรรมให้ความสุข
การทำสมาธิ
5.เทคนิคการลดความเครียดอย่างอื่น
การฝึกการหายใจ
การนวด
การอบตัว
รสสุคนธ์บำบัด
สุขอนามัยที่ดีของการนอนหลับ (sleep hygiene)
สิ่งที่ควรปฏิบัติ ได้แก่
ควรรักษาความสมดุล และความสม่ำเสมอในกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ
ในห้องนอน ควรจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
การรับประทานอาหารว่างเบาๆ ก่อนนอน
การอาบ หรือแช่น้ำอุ่นก่อนนอนประมาณ 1 - 1½ ชั่วโมง อาจทำให้หลับดีขึ้นได้
ถ้าไม่สามารถหลับได้ หลังจากเข้านอนแล้ว เกิน 30 นาที ไม่ควรนอนอยู่บนเตียง ควรลุกขึ้นจากเตียงนอน และออกจากห้องนอน แล้วทำกิจกรรมชนิดอื่นแทน เช่น อ่านหนังสือ, รับประทานอาหารว่างเบาๆ, ทำใจสบาย ๆ หรือ ฟังวิทยุเบา ๆภายใต้แสงที่สลัว
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ในระหว่างกลางวัน พยายามไม่งีบหลับ
หลีกเลี่ยงการบริโภคสารคาเฟอีน :
หลีกเลี่ยงการใช้สารนิโคติน (nicotine) (เช่น สูบบุหรี่ หรือยาบางชนิดที่มีสารนิโคตินเป็นส่วนประกอบ) ภายใน 4-6 ชั่วโมง ก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการใช้ยานอนหลับอย่างต่อเนื่องนานเกิน 1 เดือน
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมอื่นๆบนเตียงนอน เช่น อ่านหนังสือ, ทำงาน, ชมภาพยนตร์ หรือดูโทรทัศน์, คุยโทรศัพท์, ฟังวิทยุ
หลีกเลี่ยงยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท, ยาขยายหลอดลม